HR - Hear (for) Real กับ 10 EP แน่น ๆ คลิปใหม่ทุกวันพุธ เพิ่มช่องทางในการติดตามที่ https://bit.ly/3CY2w0N ฝาก Subscribe กันด้วยนะครับ
EP 1 - Generation R : Gen เกิดใหม่ในช่วง Lockdown click https://bit.ly/3ukU8Ff
EP 2 - 5 กลยุทธ์บริหารคนที่น่าจับตามองในปี 2022 https://bit.ly/3EZeusK
EP 3 - T Shaped HR Competency : HR ยุคนี้ต้องรู้ลึกเรื่องอะไร
EP 4 - Human Capital Index : ตัวชี้วัดที่น่าสนใจในการบริหารคน
EP 5 - สรุปหนังสือ The 6 Enabler of Business Agility
EP 6 - 3 พฤติกรรมที่ต้องมีเพื่อสร้าง Agility Culture
EP 7 - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัฒนธรรมองค์กรด้วย Tiny Habit
EP 8 - ใช้ Data คาดการณ์ Performance พนักงานได้จริงหรือ
EP 9 - Gaslighting Organization องค์การสายปั่นกับเพื่อนร่วมงานที่ชอบกด
EP 10 - สรุปหนังสือ The CEO Test : 7 บททดสอบความพร้อมของ CEO
ใครถนัดฟังอย่างเดียวไปติดตาม Podcast ได้ทั้ง Soundcloud และ Spotify ค้นหา HR The Next Gen หรือ QGEN ได้เลยครับ
ฝากด้วยนะครับ
#HR #HearForReal #จริงครับเฮีย
#HRTheNextGen
#QGEN
同時也有40部Youtube影片,追蹤數超過1萬的網紅It's me Adam T,也在其Youtube影片中提到,If you're from a country like mine, where the gay and queer community face difficulties such as discrimination and the potential of persecution under ...
「index of podcast」的推薦目錄:
index of podcast 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
ทำไม สิงคโปร์ จึงเป็นประเทศแห่ง บริการทางการเงิน ? /โดย ลงทุนแมน
ประเทศเกาะเล็ก ๆ แห่งนี้มีประชากรเพียงราว ๆ 5.7 ล้านคน
แต่สามารถส่งออกบริการด้านการเงินมากเป็นอันดับ 1 ของทวีปเอเชีย
คิดเป็นมูลค่าถึง 1,210,000 ล้านบาท ในปี 2019
จากการจัดอันดับเมืองศูนย์กลางการเงินโลกของ Long Finance ประจำปี 2021
สิงคโปร์คือศูนย์กลางการเงินอันดับ 5
เป็นรองเพียงนิวยอร์ก กรุงลอนดอน และเซี่ยงไฮ้ ซึ่งเป็นมหานครหลักของประเทศมหาอำนาจ
กับฮ่องกง ที่เป็นเมืองเชื่อมต่อธุรกิจระหว่างโลกกับจีนแผ่นดินใหญ่
สำหรับประเทศเกาะเล็ก ๆ ที่เพิ่งก่อตั้งในปี 1965 และแทบไม่มีทรัพยากรธรรมชาติอะไรเลย
แม้แต่น้ำจืดก็ยังขาดแคลนจนต้องนำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
แต่สามารถเติบโตจนแซงหน้ามหานครในหลายประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่กว่า
และก้าวขึ้นมาอยู่ระดับแถวหน้าของโลกได้ภายในเวลาไม่ถึง 50 ปี..
ความมหัศจรรย์ทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์ มีเส้นทางเป็นอย่างไร ?
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ซีรีส์บทความ “Branding the Nation” ปั้นแบรนด์ แทนประเทศ
ตอน ทำไม สิงคโปร์ จึงเป็นประเทศแห่ง บริการทางการเงิน ?
ถึงแม้ประเทศจะมีขนาดเล็ก ไม่ค่อยเหมาะสมกับการเพาะปลูก และแทบไม่มีทรัพยากรอะไรเลย
แต่เกาะสิงคโปร์ยังมีความโชคดีอยู่ประการหนึ่ง คือ
“ทำเลที่ตั้งที่อยู่ปลายสุดของคาบสมุทรมลายู”
ทำเลนี้เป็นจุดสำคัญของเส้นทางเดินเรือ ที่เชื่อมต่อระหว่างเอเชียตะวันออก กับอินเดียและยุโรป
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 อังกฤษรวบรวมดินแดนแถบนี้และเรียกว่า “อาณานิคมช่องแคบ”
สิงคโปร์จึงถูกวางให้เป็นเมืองท่าสำคัญของบริษัท บริติช อีสต์ อินเดีย ซึ่งเป็นบริษัทที่เดินเรือทำการค้าขายระหว่างยุโรป กับอินเดียและโลกตะวันออก
ต่อมาเมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 เกิดอุตสาหกรรมอาหารกระป๋องที่ได้รับความนิยมสูงในยุโรป แร่ธาตุที่จะนำมาทำกระป๋องก็คือ ดีบุก ซึ่งพบมากแถบคาบสมุทรมลายู เมืองท่าสิงคโปร์จึงถูกพัฒนาให้เป็นตลาดค้าดีบุกที่สำคัญของโลก
นอกจากดีบุกแล้ว การนำยางพาราเข้ามาปลูกในแถบมลายูในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน
ก็ทำให้สิงคโปร์กลายเป็นศูนย์กลางของตลาดประมูลยางพาราอีกหนึ่งตำแหน่ง
การเป็นทั้งเมืองท่า เป็นศูนย์กลางการค้าดีบุกและยางพารา ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศในสิงคโปร์คึกคัก ดึงดูดชาวต่างชาติให้เข้ามาเปิดกิจการธนาคาร
ธนาคารต่างชาติแห่งแรกที่เข้ามาเปิดทำการในสิงคโปร์ คือ The Union Bank of Calcutta
เปิดในปี 1840 มีการจัดตั้งสกุลเงินประจำอาณานิคมช่องแคบ คือ Straits Dollar ในปี 1845
ส่วนธนาคารแห่งแรกที่ก่อตั้งในสิงคโปร์ ก่อตั้งโดยชาวจีนโพ้นทะเลที่อพยพมาจากกวางตุ้ง
ชื่อว่า Kwong Yik Bank ในปี 1903 และหลังจากนั้นก็ตามมาด้วยธนาคารอีกหลายแห่ง
แต่ก็มีธนาคารมากมายที่ล้มหายตายจาก หรือถูกควบรวมกับธนาคารอื่น ๆ
ส่วนธนาคารที่ยังดำเนินการมาจนถึงปัจจุบันก็คือ
OCBC หรือ Oversea-Chinese Banking Corporation Limited ซึ่งเกิดจากการควบรวมธนาคารของชาวจีนฮกเกี้ยน 3 แห่ง ในปี 1932
และอีกธนาคารหนึ่งก็คือ UOB หรือ United Overseas Bank ซึ่งก่อตั้งโดยชาวมาเลย์เชื้อสายจีนในปี 1935
แต่ท่ามกลางการวางรากฐานด้านการเงินการธนาคารของสิงคโปร์
การเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองท่าแห่งนี้ต้องหยุดชะงักลงในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เพราะถูกยึดครองโดยกองทัพญี่ปุ่น
เมื่อหลังจบสงคราม อาณานิคมช่องแคบได้รับเอกราชจากอังกฤษ และสิงคโปร์ก็ได้ขอรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซีย ในปี 1963
แต่ด้วยปัญหาความขัดแย้งด้านเชื้อชาติ และอุดมการณ์ทางการเมือง
ท้ายที่สุดสิงคโปร์จึงแยกตัวออกจากมาเลเซีย และก่อตั้งประเทศในปี 1965
พร้อมกับตั้งสกุลเงินดอลลาร์สิงคโปร์ของตัวเองในอีก 2 ปีถัดมา
สิงคโปร์ถือกำเนิดประเทศด้วยการไม่มีทรัพยากรอะไรเลย
และเต็มไปด้วยแรงงานชาวจีนที่หลั่งไหลมาเริ่มต้นชีวิตใหม่ในช่วงหลังสงครามโลก
ลี กวน ยู (Lee Kuan Yew) นายกรัฐมนตรีคนแรกของสิงคโปร์ จึงให้ความสำคัญกับเรื่องสวัสดิภาพความเป็นอยู่ รวมไปถึงการสร้างทักษะให้กับแรงงาน ต่อยอดจากการเป็นเมืองท่าค้าขาย
มีการจัดตั้ง Housing and Development Board เพื่อดูแลในเรื่องที่พักอาศัย
และสร้างนิคมอุตสาหกรรมในเขต Jurong ทางตะวันตกของเกาะ
เพื่อสร้างงานในภาคอุตสาหกรรม
โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ทั้ง 2 โครงการ ต้องใช้เงินลงทุนสูง รัฐบาลสิงคโปร์จึงลงทุนเองบางส่วนในโครงการเหล่านี้ และได้ตั้ง The Development Bank of Singapore Limited หรือ ธนาคาร DBS ในปี 1968 เพื่อรองรับเงินทุน กระตุ้นให้เงินทุนหมุนเวียน และโครงการพัฒนาดำเนินไปอย่างราบรื่น
เมื่อผู้คนมีที่อยู่อาศัย มีงานทำ และค่อย ๆ หลุดพ้นจากความยากจนแล้ว รัฐบาลก็ต้องวางแผนต่อเนื่องเพื่อให้เศรษฐกิจเติบโตได้อย่างยั่งยืน
ประการแรก: พัฒนาการศึกษา
เพราะสิ่งที่สำคัญที่สุดของประเทศที่ขาดแคลนทรัพยากรอย่างสิงคโปร์ ก็คือ “ทรัพยากรมนุษย์”
รัฐบาลสิงคโปร์จึงให้ความสำคัญต่อนโยบายการศึกษาอย่างสูงสุด โดยมีการปฏิรูปคุณภาพของระบบ และมาตรฐานการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
เริ่มจากการมีบุคลากรครูคุณภาพสูง โดยครูทุกคนต้องจบการศึกษาในด้านที่เกี่ยวข้อง หลังจบการศึกษาต้องเข้ารับการฝึกอบรมวิชาชีพครูจากสถาบันการศึกษาแห่งชาติสิงคโปร์ (National Institute of Education หรือ NIE) เป็นเวลา 1 ปี เมื่อปฏิบัติหน้าที่ครูแล้วต้องได้รับการประเมิน และพัฒนาในทุก ๆ ปี
และด้วยความหลากหลายทางเชื้อชาติและภาษาของผู้คนในสิงคโปร์ ที่มีทั้งชาวจีน ชาวมาเลย์ ชาวทมิฬ ซึ่งแต่ละเชื้อชาติต่างก็มีการใช้ภาษาเป็นของตัวเองแตกต่างกันไป
สิ่งที่จะหลอมรวมให้คนทุกเชื้อชาติสามารถอยู่ร่วมกันก็คือ
“ชาวสิงคโปร์ทุกคนจะต้องสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้”
นำมาสู่ระบบการเรียนการสอนสองภาษา ที่มีการใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก
ส่วนภาษาที่สองก็เป็นภาษาของแต่ละเชื้อชาติ
รัฐบาลสิงคโปร์ยังได้สร้างทางเลือกในการศึกษาระดับมัธยมให้กับประชาชน โดยแบ่งเป็น
หลักสูตรมัธยมศึกษาเชิงวิชาการ สำหรับนักเรียนที่มุ่งเรียนต่อในมหาวิทยาลัย
และหลักสูตรมัธยมศึกษาโพลีเทคนิค สำหรับนักเรียนที่มุ่งเรียนต่อในสายอาชีวะ
ซึ่งรัฐบาลสิงคโปร์ก็ผลักดันมาตรฐานในการเรียนสายอาชีวะให้มีคุณภาพสูง
เพราะมองว่านักเรียนแต่ละคนมีความถนัดทางวิชาการไม่เท่ากัน และสายอาชีวะสามารถผลิตบุคลากรเพื่อป้อนตลาดแรงงานในทันที
โดยหนึ่งในสายวิชาชีพ ที่รัฐบาลผลักดันตั้งแต่การก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวะแห่งแรก ๆ ก็คือ “นักบัญชี”
สำหรับการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย มีการจัดตั้ง National University of Singapore (NUS) ที่เกิดจากการควบรวมมหาวิทยาลัย 2 แห่งในปี 1980 และเริ่มพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการ โดยจัดตั้ง NUS Entrepreneurship Centre ในปี 1988
ซึ่งในปีการศึกษา 2022 มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ก็เป็นมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของทวีปเอเชีย
จากการจัดอันดับโดย QS
ต่อมาในปี 1981 มีการจัดตั้ง Nanyang Technological University (NTU)
ซึ่งก็กลายเป็นมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดอันดับ 2 ของทวีปเอเชีย
โดยมี Nanyang Business School เป็นสถาบันด้านบริหารธุรกิจอันดับ 1 ของสิงคโปร์
เมื่อสร้างแรงงานที่เป็นที่ต้องการของตลาด โดยเฉพาะในภาคบริหารธุรกิจและการเงิน รวมไปถึงด้านกฎหมาย และแรงงานส่วนใหญ่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี
ปัจจัยเหล่านี้จึงเป็นสิ่งสำคัญ ทำให้สิงคโปร์มีความเป็นเมืองนานาชาติ และมีข้อได้เปรียบดึงดูดบริษัทต่างชาติ โดยเฉพาะสถาบันการเงิน บริษัทด้านบัญชี และกฎหมาย ให้เลือกมาตั้งสำนักงานใหญ่ระดับภูมิภาคในสิงคโปร์
รัฐบาลได้จัดตั้ง ธนาคารกลางแห่งสิงคโปร์ (Monetary Authority of Singapore หรือ MAS) ในปี 1971 เพื่อควบคุมสถาบันการเงิน และบริหารจัดการนโยบายทางการเงิน
ด้วยความที่สิงคโปร์เป็นประเทศขนาดเล็กและเป็นเมืองท่าค้าขาย และพึ่งพาการค้าจากต่างประเทศสูงมาก สิงคโปร์จึงอาศัยกลไก “อัตราแลกเปลี่ยน” เป็นเครื่องมือในการดำเนินนโยบายการเงิน ภายใต้การบริหารจัดการของ MAS
ประการที่ 2: ปฏิรูประบบราชการ
เมื่อวางแผนระบบการศึกษาเพื่อสร้างแรงงานที่มีคุณภาพแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่ต้องพัฒนาเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติก็คือ “ความโปร่งใส”
ในช่วงหลังการแยกตัวเป็นเอกราช
สิงคโปร์เคยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีการคอร์รัปชันสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
รัฐบาลภายใต้การนำของนายก ลี กวน ยู ได้ย้ายสำนักสืบสวนการทุจริตคอร์รัปชัน (Corrupt Practices Investigation Bureau หรือ CPIB)
ซึ่งเป็นองค์กรที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1952 มาอยู่ภายใต้สำนักนายกรัฐมนตรี
และทำการปฏิรูปกฎหมายป้องกันและปราบปรามการคอร์รัปชัน ให้ยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ
ทั้งการตัดสินลงโทษผู้ต้องหาโดยไม่ต้องมีหลักฐานชัดเจน แค่มีพฤติกรรมโน้มเอียงไปในทางไม่ซื่อสัตย์ก็สามารถตัดสินได้ หากผู้ต้องหาถูกตัดสินว่าผิดจริง ก็จะได้รับโทษอย่างรุนแรง
นอกจากโทษทางกฎหมายแล้ว ยังต้องชดใช้ค่าเสียหายเท่ากับจำนวนเงินที่ทำการทุจริตด้วย
หลังจากตัวบทกฎหมาย และกระบวนการลงโทษเริ่มเข้าที่เข้าทาง
ขั้นต่อมา คือการเพิ่มผลตอบแทนให้ข้าราชการ โดยเริ่มในปี 1989
เพื่อจูงใจให้คนเก่งเข้ารับราชการ และลดการรับสินบนของเจ้าหน้าที่รัฐ
รัฐบาลสิงคโปร์ใช้เวลาต่อสู้กับการคอร์รัปชันมาเป็นเวลากว่า 50 ปี
จนสิงคโปร์กลายเป็นประเทศที่มีดัชนีความโปร่งใส (Corruption Perceptions Index)
สูงเป็นอันดับ 3 ของโลก ในปี 2020
เมื่อประเทศมีความโปร่งใส ก็ดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ ในขณะที่รัฐบาลก็มีเงินมาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น ทั้งการคมนาคมขนส่ง ไปจนถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
รัฐบาลสิงคโปร์ยังได้ก่อตั้ง คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ (Economic Development Board หรือ EDB) เพื่อวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจที่ชัดเจน
จากเมืองท่าปลอดภาษี ในช่วงทศวรรษ 1970s สิงคโปร์ต่อยอดมาสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และปิโตรเคมี ในทศวรรษ 1980s
และในช่วงทศวรรษ 1990s ประเทศแห่งนี้ก็เปลี่ยนไปเป็นศูนย์กลางบริการทางการเงินของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประการที่ 3: พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
รัฐบาลสิงคโปร์ได้จัดตั้ง The Smart Nation and Digital Government Group หรือ SNDGG รับผิดชอบในการเปลี่ยนแปลงบริการต่าง ๆ ของภาครัฐสู่ระบบดิจิทัล เพื่อเก็บข้อมูล และประยุกต์ใช้ในการวางแผนพัฒนาประเทศ ทำให้รัฐบาลสิงคโปร์มี Big Data โดยเฉพาะข้อมูลทางการเงิน
รัฐบาลจึงสามารถตรวจสอบเส้นทางทางการเงินได้ ป้องกันการฟอกเงิน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เองทำให้สิงคโปร์ได้รับความน่าเชื่อถือ สามารถเป็นศูนย์กลางทางการเงิน
รัฐบาลยังต่อยอดและให้การสนับสนุนเทคโนโลยีทางการเงิน หรือ FinTech โดยมีเป้าหมายเพื่อผลักดันให้สิงคโปร์เป็น The FinTech Nation
ทั้งการเปิดให้บริษัท FinTech จากทั่วโลก ขอใบอนุญาต Digital Banking ได้เต็มรูปแบบ
ไม่ปิดกั้นเฉพาะองค์กรในสิงคโปร์ และให้การสนับสนุนนวัตกรรมทางการเงินหลายรูปแบบ
ทั้งระบบชำระเงิน, บล็อกเชน ไปจนถึงเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
ในขณะที่ธนาคารกลางสิงคโปร์ ก็เป็นผู้ริเริ่มจัดงาน Singapore FinTech Festival ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรกในปี 2016 และจัดขึ้นติดต่อกันมาเป็นประจำทุกปี ซึ่งถือว่าเป็นมหกรรม FinTech ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
ปัจจุบัน ธนาคารสิงคโปร์ที่ใหญ่ที่สุด 3 แห่ง คือ DBS, OCBC และ UOB
ล้วนเป็น 3 ธนาคารที่ใหญ่อันดับต้น ๆ ในภูมิภาคอาเซียน มีผลิตภัณฑ์การเงินที่หลากหลาย ทั้งประกันภัย ผลิตภัณฑ์การลงทุนต่าง ๆ ไปจนถึงสกุลเงินดิจิทัล
ภาคบริการการเงินคิดเป็นสัดส่วนราว 7.4% ของการส่งออกสินค้าและบริการของสิงคโปร์ ซึ่งบริการขั้นสูงเหล่านี้ มีส่วนสำคัญที่ผลักดัน GDP ต่อหัวของชาวสิงคโปร์ให้สูงขึ้นเรื่อย ๆ
ในปี 1965 ที่ก่อตั้งประเทศ ชาวสิงคโปร์เคยมี GDP ต่อหัวน้อยกว่า เจ้าอาณานิคมอย่างสหราชอาณาจักร ประเทศแห่งนวัตกรรมอย่างเยอรมนี หรือประเทศมหาอำนาจในเอเชียอย่างญี่ปุ่น
แต่ในปี 2020 GDP ต่อหัวชาวสิงคโปร์แซงหน้าประเทศเหล่านี้ทั้งหมด และมากเป็นเกือบ 1.5 เท่า ของอดีตเจ้าอาณานิคม..
เรื่องทั้งหมดนี้เกิดจากการวางแผนระยะยาว
ทั้งการเตรียมทรัพยากรมนุษย์ให้พร้อมสำหรับงานบริการ
การพัฒนาประเทศให้โปร่งใสและมีความน่าเชื่อถือในระดับสากล
รวมไปถึงการช่วยเหลือของภาครัฐในทุก ๆ ด้าน
จากเมืองท่าศูนย์กลางการค้า สิงคโปร์ก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์กลางการเงินของภูมิภาค และกำลังจะกลายเป็นศูนย์กลางเทคโนโลยีทางการเงินแห่งศตวรรษที่ 21
เรื่องราวของประเทศเกาะมหัศจรรย์แห่งนี้ บอกให้เรารู้ว่า
เมื่อเริ่มเป็นศูนย์กลางอะไรสักอย่าง และสั่งสมประสบการณ์จนมากพอแล้ว
ก็จะง่ายในการดึงดูดสิ่งใหม่ ๆ และกลายเป็นศูนย์กลางด้านอื่น ๆ เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
และในวันนี้ สิงคโปร์กำลังเตรียมพร้อมทุกอย่าง
สำหรับการเป็นศูนย์กลางอีกหลายด้าน ที่กำลังจะเกิดขึ้นในโลกอนาคต..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-http://prp.trf.or.th/download/2538/
-https://atlas.cid.harvard.edu/explore?country=undefined&product=404&year=2019&productClass=HS&target=Product&partner=undefined&startYear=undefined
-https://remembersingapore.org/2011/10/07/money-never-sleeps-a-brief-history-of-banking-in-sg/
-https://lkyspp.nus.edu.sg/docs/default-source/case-studies/entry-1516-singapores_transformation_into_a_global_financial_hub.pdf
-https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.PCAP.CD?locations=SG-GB-JP-DE
-https://www.moneyandbanking.co.th/article/news/dbs-cryptocurrency-trading-130964?fbclid=IwAR2VVHEH9_n29fpyXSQ6EgSGDm63Lhm3aQF0aj7I8LIQ_B2wgjIXSazIVxU
index of podcast 在 Goodbye HK, Hello UK Facebook 的最佳解答
黨友問到口啞
响盟軍完全撤出阿富汗之後嘅第二日,英國下議院外交委員會就即時召開特別會議,質詢外交大臣Dominic Raab。响成班專注外交嘅議員圍攻之下,出招最狠嘅係外交委員會主席,同屬保守黨嘅Tom Tugendhat,雖然擺明比面留咗手,但已經足以令Dominic Raab醜態盡露,成頭都係血。
一開始就好嚴肅咁問Dominic Raab响上任之後,即係美國同北約宣布撤軍後有無去過阿富汗,或者同鄰國巴基斯坦,緊係無先問啦,Tom Tugendhat就輕輕地一句,咁德國部長响八月尾有巴基斯坦做協調準備,咪係最高成功撤僑嘅北約國囉。先攞一分,Dominic Raab先中一拳。
然後,Tom Tugendhat就問外交大臣到底知唔知實際有幾多英籍人士或者合資格人士同家屬响阿富汗,實數當然唔知啦。「既然唔知,咁依家有幾多人不幸被遺棄咗?」,Dominic Raab就即時啞咗,「 揭文件」。再中多拳。
Tom Tugendhat最後重錘就係讀咗份情報機構响7月22號提交比外交部嘅文件,
"Peace talks have stalled. The US/Nato withdrawal is resulting in rapid Taliban advances. This could lead to fall of cities, collapse of security forces, Taliban return to power, mass displacement and significant humanitarian need. The embassy may need to close if security deteriorates."
(和談已經停止咗,美國同北約嘅撤軍會令塔利班嘅進攻加快,結果城市會淪陷,保安部隊會瓦解,塔利班會重掌政權引發大型移民同人道需要。如果局勢惡化嘅話,大使館有可能要關閉。)
Dominic Raab聽到之後,即時嘅反應竟然係「吓,份嘢係邊度黎㗎?」("I'm sorry, [what's] the source of that?")。
"It's your principal risk report."
(你份危機風險報告呀。)
Patreon原文:
外交大臣接受下議院外交委員會質詢,口啞了
https://bit.ly/3BzFkoJ
#真點問責
#問到口啞
#石頭揸出血
完整片斷:
《Parliament TV》Foreign Affairs Committee (Wednesday 1 September 2021)
https://parliamentlive.tv/event/index/44d918e3-3be5-41ae-994b-d6384a554327
(Tom Tugendhat大戰Dominic Raab係頭15分鐘)
***************************************
📢月頭乞食:文字、時間與心血有價
🥣乞兒兜(月頭課金係最抵):
https://www.patreon.com/goodbyehkhellouk
最近更新:
拜登與阿富汗總統响7月23號嘅電話
https://bit.ly/2V1ERfk
首個加入英國皇家海軍陸戰隊嘅皇室成員
https://bit.ly/3kL7re1
Podcast:近代阿富汗與塔利班點黎
https://bit.ly/3jAElyF
阿富汗危機當中,點解英國外交大臣受最多評擊?
https://bit.ly/3BnrRAn
***************************************
index of podcast 在 It's me Adam T Youtube 的精選貼文
If you're from a country like mine, where the gay and queer community face difficulties such as discrimination and the potential of persecution under the law, then I'm sure you may understand these feels.
So if you're seeking a hopeful future, I share some insights to provides you with things I learnt along the way while dealing with coming out as a gay person from Malaysia.
There is nothing wrong with being different. If anything, it will be your super power! Don't let anyone convince you otherwise. Love you ♥
Links mentioned in this video:
Jasmine's Podcast "I Wish Someone Told Me" ➤ https://open.spotify.com/episode/4SV9AgFx0DtCyf6JqmK1Jl?si=8d97ceb3ebfe495c
Queer Lapis - Stories of being LGBTQI+ in South East Asia ➤ https://queerlapis.com
Support this channel:
Download Text Animations ➤ https://store.adamtambakau.com
[Index]
0:00 What being a gay man in Malaysia feels like?
1:57 Tip #1 Safety first
4:06 Tip #2 Trust slowly, but surely
6:37 Tip #3 Find your community
8:47 Tip #4 Be patient & never give up
11:43 Final thoughts
My Social Medias ➤
https://www.instagram.com/AdamTambakau
https://www.twitter.com/AdamTam
https://www.facebook.com/AdamTamFam
index of podcast 在 Thai Pham Youtube 的最佳貼文
CHỨNG KHOÁN MỸ LIÊN TIẾP LẬP KỈ LỤC, COVID-19 VÀ CHỨNG KHOÁN VIỆT NAM?
Liệu chứng khoán Mỹ đã đến giai đoạn chạy nước rút hay chưa? Còn tại Việt Nam, chuỗi thông tin về tình hình dịch bệnh sẽ ảnh hưởng gì đến phản ứng của thị trường trong tuần tới? Hãy theo dõi điểm tin cùng tôi nhé!
00:00 – Chứng khoán Mỹ khi nào điều chỉnh?
02:40 – Fed và chính sách kinh tế
08:28 – Lợi suất trái phiếu 10 năm cũng cần tích lũy tạo nền giá mới
10:00 – Giá dầu và cổ phiếu liên quan
14:04 – Vàng vẫn vận động khá tốt
17:18 – Index đi ngang tuần trước
23:50 – Diễn biến Covid
29:20 – Kịch bản thị trường tuần mới
31:50 – 3 câu hỏi cần suy ngẫm trước khi quyết định bán cổ phiếu
⭕ Tìm đọc các quyển sách về đầu tư:
* Damn right! – Vén màn bí ẩn về tỷ phú Charlie Munger: https://bit.ly/damn-right-tiki-happy-live
* Tuyệt kỹ Giao dịch bằng đồ thị nến Nhật: https://bit.ly/nen-nhat-tiki
* Payback Time - Ngày Đòi Nợ: http://bit.ly/ngay-doi-no-tiki
* Làm Giàu Từ Chứng Khoán CANSLIM: http://bit.ly/bo-sach-lam-giau-tu-chung-khoan-duong-dan-thuc-hanh-canslim-tiki
* Cách kiếm lợi nhuận 18.000% từ thị trường chứng khoán: https://bit.ly/cach-kiem-loi-nhuan-18000-tu-thi-truong-chung-khoan-tiki-happy-live
* Hệ thống giao dịch Ichimoku Charts: https://bit.ly/he-thong-giao-dich-ichimoku-charts-tiki-happy-live
* Lạc Quan Tếu: https://bit.ly/lac-quan-teu-tiki-happy-live
**Tủ Sách Tinh Hoa Chứng Khoán Toàn Tập 2021: https://bit.ly/tu-sach-tinh-hoa-chung-khoan-toan-tap-2021-tiki
? Tham gia Cộng đồng Happy Live - Đầu tư Tài chính và Thịnh vượng tại đây: http://bit.ly/congdonghappylive
⭕ Để năm 2021 làm đâu trúng đó, khai thông hảo vận, bạn có thể rinh ngay Cặp Bò Vàng Phố Wall Lộc Phát - Thịnh Vượng: https://bit.ly/bo-vang-pho-wall-tiki
⭕ Và nếu bạn muốn gặp và có duyên với tôi, bạn có thể gặp tôi trực tiếp tại khóa học Kungfu chứng khoán: http://bit.ly/khoa-hoc-kungfu-chung-khoan
? Subscribe kênh của Thai Pham ?
http://bit.ly/thai-pham-sub-confirmation
⚡ Tham khảo những Playlist hay nhất:
▪️ Học đầu tư & làm giàu từ chứng khoán: http://bit.ly/hoc-dau-tu-va-lam-giau-tu-chung-khoan
▪️ Bài học kinh doanh – làm giàu: http://bit.ly/lam-giau-tu-kinh-doanh-tp
▪️ Phát triển bản thân: http://bit.ly/phat-trien-ban-than-tp
▪️ Các video hay nhất do Thai Pham tuyển chọn: http://bit.ly/video-thai-pham-tuyen-chon
❓ Thái Phạm là ai?
▪️ Tôi theo học tại Đại học Kinh tế Quốc dân (từ năm 2000-2004), tốt nghiệp MBA tại University of Hawaii – Hoa Kì (từ năm 2010-2012).
▪️ Hơn 12 năm kinh nghiệm trong việc xây dựng thương hiệu, tiếp thị và phát triển kinh doanh tại tập đoàn lớn Việt Nam
▪️ 14 năm đầu tư và quản lý quỹ hiệu quả tại thị trường chứng khoán Việt Nam
▪️ Hiện tôi là doanh nhân, nhà sáng lập cộng đồng đầu tư tài chính và thịnh vượng Happy Live – công ty chuyên về đầu tư, đào tạo & huấn luyện về đầu tư và kiến tạo xây dựng doanh nghiệp.
▪️ Tôi cũng là biên dịch và dịch giả cho nhiều cuốn sách về đầu tư, kinh doanh, phát triển bản thân bán chạy tại Việt Nam, được Happy Live xuất bản: https://happy.live/cua-hang/
⚡ Bạn có thể gặp tôi trực tiếp tại:
▪️ Kungfu Chứng Khoán: Khóa học đầu tư dành cho những người mới bắt đầu tham gia thị trường chứng khoán hoặc đã đầu tư nhưng vẫn thua lỗ và chưa tìm được cho mình phương pháp đầu tư phù hợp.
http://bit.ly/khoa-hoc-kungfu-chung-khoan
▪️ Thiết Kế Cuộc Đời Thịnh Vượng: Khóa học dành cho các bạn trẻ khát khao thành công, phát triển bản thân và tìm kiếm đam mê của đời mình.
http://bit.ly/thiet-ke-cuoc-doi-thinh-vuong-happy-live
▪️ Meetup Cộng đồng Happy Live - Đầu tư Tài chính và Thịnh vượng: Hoạt động định kỳ dành cho các thành viên cộng đồng quan tâm đến đầu tư tài chính. Các kiến thức đầu tư thực tiễn kèm các thông tin mới nhất về thị trường chứng khoán
▪️ Meetup Cộng đồng Làm giàu từ kinh doanh: Hoạt động định kỳ cho các thành viên cộng đồng quan tâm kinh doanh, marketing, khởi sự, khởi nghiệp làm giàu.
? Tham gia khóa học Kungfu chứng khoán cùng tôi: http://bit.ly/khoa-hoc-kungfu-chung-khoan
★☆★ Hãy cập nhật thông tin mới nhất của tôi tại ★☆★
Facebook: http://bit.ly/Thai_Pham_fanpage
Youtube Channel: http://bit.ly/thai-pham-channel
Blog: https://thaipham.live/
Podcast: http://bit.ly/thai-pham-Anchor
----------------.----------------.---------------
#chungkhoan
#covid
#covid19
index of podcast 在 Thai Pham Youtube 的最讚貼文
VNINDEX SẼ NHƯ THẾ NÀO TRONG TUẦN TỚI?
Hôm nay, điểm tin của tôi sẽ nghiêng về thị trường chứng khoán Việt Nam trong tuần tới, sẽ giảm mạnh hay tiếp tục đà tăng giá đây? Đón xem nhé bạn hữu!
00:00 - Bối cảnh quốc tế
8:51 - Tình hình thị trường chứng khoán Việt Nam
13:13 - Các kịch bản cho thị trường tuần tới
33:07 - Những điểm cần lưu ý tuần kế tiếp
37:40 - Mini game
⚡ Đón đọc siêu phẩm tháng 4 của chúng tôi:
* Damn right! – Vén màn bí ẩn về tỷ phú Charlie Munger: https://bit.ly/damn-right-tiki-happy-live
* Tiny Habits: Thói quen tí hon – Tiềm năng khổng lồ: https://bit.ly/thoi-quen-ti-hon-tiem-nang-khong-lo-tiki-happy-live
* Thiết kế cuộc đời thịnh vượng phiên bản mới: https://bit.ly/thiet-ke-cuoc-doi-thinh-vuong-tiki
⭕ Tìm đọc thêm các quyển sách về đầu tư:
* Tuyệt kỹ Giao dịch bằng đồ thị nến Nhật: https://bit.ly/nen-nhat-tiki
* Payback Time - Ngày Đòi Nợ: http://bit.ly/ngay-doi-no-tiki
* Làm Giàu Từ Chứng Khoán CANSLIM: http://bit.ly/bo-sach-lam-giau-tu-chung-khoan-duong-dan-thuc-hanh-canslim-tiki
* Cách kiếm lợi nhuận 18.000% từ thị trường chứng khoán: https://bit.ly/cach-kiem-loi-nhuan-18000-tu-thi-truong-chung-khoan-tiki-happy-live
* Hệ thống giao dịch Ichimoku Charts: https://bit.ly/he-thong-giao-dich-ichimoku-charts-tiki-happy-live
* Lạc Quan Tếu: https://bit.ly/lac-quan-teu-tiki-happy-live
**Tủ Sách Tinh Hoa Chứng Khoán Toàn Tập 2021: https://bit.ly/tu-sach-tinh-hoa-chung-khoan-toan-tap-2021-tiki
? Tham gia Cộng đồng Happy Live - Đầu tư Tài chính và Thịnh vượng tại đây: http://bit.ly/congdonghappylive
⭕ Để năm 2021 làm đâu trúng đó, khai thông hảo vận, bạn có thể rinh ngay Cặp Bò Vàng Phố Wall Lộc Phát - Thịnh Vượng: https://bit.ly/bo-vang-pho-wall-tiki
⭕ Và nếu bạn muốn gặp và có duyên với tôi, bạn có thể gặp tôi trực tiếp tại khóa học Kungfu chứng khoán: http://bit.ly/khoa-hoc-kungfu-chung-khoan
? Subscribe kênh của Thai Pham ?
http://bit.ly/thai-pham-sub-confirmation
⚡ Tham khảo những Playlist hay nhất:
▪️ Học đầu tư & làm giàu từ chứng khoán: http://bit.ly/hoc-dau-tu-va-lam-giau-tu-chung-khoan
▪️ Bài học kinh doanh – làm giàu: http://bit.ly/lam-giau-tu-kinh-doanh-tp
▪️ Phát triển bản thân: http://bit.ly/phat-trien-ban-than-tp
▪️ Các video hay nhất do Thai Pham tuyển chọn: http://bit.ly/video-thai-pham-tuyen-chon
❓ Thái Phạm là ai?
▪️ Tôi theo học tại Đại học Kinh tế Quốc dân (từ năm 2000-2004), tốt nghiệp MBA tại University of Hawaii – Hoa Kì (từ năm 2010-2012).
▪️ Hơn 12 năm kinh nghiệm trong việc xây dựng thương hiệu, tiếp thị và phát triển kinh doanh tại tập đoàn lớn Việt Nam
▪️ 14 năm đầu tư và quản lý quỹ hiệu quả tại thị trường chứng khoán Việt Nam
▪️ Hiện tôi là doanh nhân, nhà sáng lập cộng đồng đầu tư tài chính và thịnh vượng Happy Live – công ty chuyên về đầu tư, đào tạo & huấn luyện về đầu tư và kiến tạo xây dựng doanh nghiệp.
▪️ Tôi cũng là biên dịch và dịch giả cho nhiều cuốn sách về đầu tư, kinh doanh, phát triển bản thân bán chạy tại Việt Nam, được Happy Live xuất bản: https://happy.live/cua-hang/
⚡ Bạn có thể gặp tôi trực tiếp tại:
▪️ Kungfu Chứng Khoán: Khóa học đầu tư dành cho những người mới bắt đầu tham gia thị trường chứng khoán hoặc đã đầu tư nhưng vẫn thua lỗ và chưa tìm được cho mình phương pháp đầu tư phù hợp.
http://bit.ly/khoa-hoc-kungfu-chung-khoan
▪️ Thiết Kế Cuộc Đời Thịnh Vượng: Khóa học dành cho các bạn trẻ khát khao thành công, phát triển bản thân và tìm kiếm đam mê của đời mình.
http://bit.ly/thiet-ke-cuoc-doi-thinh-vuong-happy-live
▪️ Meetup Cộng đồng Happy Live - Đầu tư Tài chính và Thịnh vượng: Hoạt động định kỳ dành cho các thành viên cộng đồng quan tâm đến đầu tư tài chính. Các kiến thức đầu tư thực tiễn kèm các thông tin mới nhất về thị trường chứng khoán
▪️ Meetup Cộng đồng Làm giàu từ kinh doanh: Hoạt động định kỳ cho các thành viên cộng đồng quan tâm kinh doanh, marketing, khởi sự, khởi nghiệp làm giàu.
? Tham gia khóa học Kungfu chứng khoán cùng tôi: http://bit.ly/khoa-hoc-kungfu-chung-khoan
★☆★ Hãy cập nhật thông tin mới nhất của tôi tại ★☆★
Facebook: http://bit.ly/Thai_Pham_fanpage
Youtube Channel: http://bit.ly/thai-pham-channel
Blog: https://thaipham.live/
Podcast: http://bit.ly/thai-pham-Anchor
----------------.----------------.---------------
#VNINDEX