"วัคซีนโควิดฉีดเด็ก ไฟเซอร์ vs ชิโนฟาร์ม"
สัปดาห์ก่อน ก็เคยโพสต์เรื่องนี้ไปทีนึงแล้ว (https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=2276971732433448&id=100003619303769) แต่ก็ยังมีผู้ปกครองส่งมาถามกันเรื่อยๆนะครับว่า
จะเลือกฉีดวัคซีนโควิดอะไรให้ลูกหลานดี ?
ระหว่างฉีดวัคซีนไฟเซอร์ (ที่รัฐบาลจัดหาให้ ได้รับการรับรองจาก อย. และราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยแล้ว )
กับ วัคซีนชิโนฟาร์ม (ที่ยังไม่ได้รับการอนุญาตจาก อย. แต่ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ขออาสาสมัครเด็ก 1 แสนคนทั่วประเทศ มารวมการทดลอง)
ซึ่งขอตอบซ้ำอีกครั้ง สั้นๆ ว่า ผมใช้หลัก "ขอเลือกวัคซีนแบบที่อเมริกาฉีด" คือ mRNA วัคซีนของไฟเซอร์ (และอีกไม่นาน คงรวมถึงโมเดอร์น่าด้วย) ซึ่งผ่านการฉีดเด็กมาแล้วหลายล้านโดสทั่วโลก ... ในขณะที่เพื่อนหมอบางคนเขาเลือกวัคซีนเชื้อตาย อย่างชิโนฟาร์ม มากกว่า เพราะน่าจะปลอดภัยกว่า
วันนี้อ่านเจอข่าวให้สัมภาษณ์ของคุณหมอเฉลิมชัย (นพ.เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ รองประธานกรรมาธิการการสาธารณสุข วุฒิสภา) ชี้แจงไว้ค่อนข้างละเอียดดี ก็ลองเอาเป็นแนวทางในการตัดสินใจกันดูนะครับ
-------
(รายงานข่าว)
1. ถาม : ถ้าไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด แล้วไปโรงเรียน จะมีความเสี่ยงในการติดเชื้อมากน้อยเพียงใด
ตอบ : มีความเสี่ยงค่อนข้างมาก แต่ถ้านักเรียนรวมทั้งคุณครูและบุคลากรฉีดวัคซีนเป็นจำนวนมาก นักเรียนที่ไม่ได้ฉีดวัคซีนก็จะมีโอกาสติดเชื้อน้อยลง
2. ถาม : ถ้าเด็กนักเรียนติดเชื้อแล้ว จะมีอาการรุนแรงมากน้อยเพียงใด เสี่ยงต่อการเสียชีวิตหรือไม่
ตอบ : เด็กเมื่อติดเชื้อแล้ว มักจะไม่แสดงอาการ ในส่วนน้อยที่แสดงอาการก็ไม่ค่อยรุนแรง และมีเด็กที่เสียชีวิตจากโควิดน้อยมาก
เมื่อเทียบกับผู้สูงอายุและมีโรคประจำตัวจะเสียชีวิต 90-95% ของจำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมด ส่วนอายุน้อยกว่า 60 ปีไม่มีโรคประจำตัว เสียชีวิตเพียง 5-10% ส่วนในเด็กเสียชีวิตน้อยมากไม่ถึง 1%
3. ถาม : วัคซีนชนิดใดมีความปลอดภัยเหมาะสมที่จะฉีดในเด็กบ้าง
ตอบ : วัคซีนทุกชนิดที่ได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลกและสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาไทย (อย.) ถือว่ามีความปลอดภัยที่จะฉีดได้ทั้งสิ้น
4. ถาม : วัคซีนที่ได้รับการอนุมัติแล้วให้ฉีดในเด็กได้ มีอะไรบ้าง
ตอบ : อย.ไทยได้อนุมัติแล้วสองชนิด สำหรับฉีดเด็กอายุ 12 ปีขึ้นไปคือ Pfizer กับ Moderna และอยู่ในระหว่างกำลังพิจารณาอนุมัติให้กับ Sinopharm
ในระดับโลก อนุมัติให้ฉีด Pfizer และ Moderna ในเด็กอายุ 12 ปีขึ้นไปได้
ส่วนที่ประเทศจีนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ได้มีการให้ฉีดวัคซีนเชื้อตายคือ Sinopharm ในเด็กอายุตั้งแต่สามขวบขึ้นไป
ส่วนคิวบา อนุมัติให้ฉีดวัคซีนโปรตีนเป็นฐานตั้งแต่สองขวบขึ้นไป
5. ถาม : วัคซีนที่อนุมัติแล้วให้ฉีดในเด็กได้ มีข้อมูลความปลอดภัยหรือผลข้างเคียงเป็นอย่างไรบ้าง
ตอบ : Sinopharm ซึ่งเป็นวัคซีนเทคโนโลยีเชื้อตาย มีแนวโน้มที่จะสร้างความสบายใจมากกว่า เพราะใช้ผลิตวัคซีนในเด็กมานานนับ 10 ปี เช่น ไอกรน โปลิโอ ตับอักเสบ ไข้หวัดใหญ่ และการฉีดในเฟสหนึ่งและสองที่ประเทศจีน รวมทั้งเฟสสามในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ก็พบว่าปลอดภัยดี
ส่วนวัคซีน Pfizer ซึ่งเป็น เทคโนโลยี mRNA ณ ปัจจุบัน ก็ถือว่าปลอดภัยในการฉีดเด็ก แต่ในระยะยาวนานนับปี ยังจะต้องติดตามผลเรื่องความปลอดภัยหรือผลข้างเคียงกันต่อไป
6. ถาม : วัคซีนของ Pfizer ที่ฉีดในเด็กอายุ 12-17 ปีแล้วนั้น มีผลข้างเคียงอย่างไรบ้าง
ตอบ : วัคซีน Pfizer ถือว่ามีผลข้างเคียงในเด็กค่อนข้างน้อย สามารถฉีดได้ แต่ในผลข้างเคียงที่รุนแรงแม้พบน้อยมากที่ควรสนใจประกอบด้วย
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ในทุกอายุพบ 12.6 รายต่อ 1 ล้านโดส โดยในเด็กจะพบมากกว่าในผู้ใหญ่ตั้งแต่ 1.2-27.3 เท่า โดยในเด็กชายจะพบมากกว่าเด็กหญิง 7.7 เท่า และพบในวัคซีน Pfizer พบมากกว่า Moderna 2.5 เท่า เด็กอายุ 12-15 ปี พบกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ 21 รายต่อ 1 ล้านโดส อายุ 16-17 ปี พบ 34 รายต่อ 1 ล้านโดส แพ้รุนแรงแบบช็อก (Anaphylaxis) พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 19 เท่าหรือ 95% และพบใน Pfizer มากกว่า Moderna ประมาณสองเท่า คือ 4.7 ราย เทียบกับ 2.5 ราย ต่อ 1 ล้านโดส
7. ถาม : วัคซีน Sinopharm มีผลข้างเคียงมากน้อยอย่างไร
ตอบ : ยังไม่มีตัวเลขรายงานทางวิชาการอย่างเป็นทางการ แต่จากกรณีศึกษาทั้งในประเทศจีนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ พบว่ามีความปลอดภัยดี และมีประสิทธิผลในการป้องกันโรคสูง
8. ถาม : ขณะนี้ประเทศไทยมีวัคซีนที่พร้อมฉีดในเด็กและได้รับการอนุมัติแล้วกี่ตัว
ตอบ : วัคซีนที่พร้อมฉีดและได้รับการจดทะเบียนแล้วคือ Pfizer ส่วนที่ได้รับการอนุมัติแล้ว กำลังรอวัคซีนเข้ามาคือ Moderna และวัคซีนที่มีพร้อมฉีดและกำลังรอการอนุมัติจาก อย.คือ Sinopharm
9. ถาม : จากข้อมูลทั้งหมด ควรตัดสินใจอย่างไรดี
ตอบ : จากข้อมูลทั้งหมด คุณพ่อคุณแม่และผู้ปกครองก็พอจะประเมินได้ว่า ครอบครัวของท่านเป็นผู้ที่ให้น้ำหนักความกังวลต่อผลข้างเคียงของวัคซีนมาก หรือความกังวลต่อการติดเชื้อแล้วมีอาการรุนแรงมาก ซึ่งแต่ละครอบครัว ก็คงจะแตกต่างกันไป และในครอบครัวที่ตัดสินใจจะฉีดวัคซีน ก็คงต้องพิจารณาระหว่าง Pfizer ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ส่วน Sinopharm อยู่ระหว่างกำลังอนุมัติ
ข่าวจาก
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「anaphylaxis」的推薦目錄:
- 關於anaphylaxis 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的精選貼文
- 關於anaphylaxis 在 Facebook 的最佳解答
- 關於anaphylaxis 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 的最佳貼文
- 關於anaphylaxis 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
- 關於anaphylaxis 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於anaphylaxis 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於anaphylaxis 在 Anaphylaxis, Animation - YouTube 的評價
anaphylaxis 在 Facebook 的最佳解答
来咯来咯! 12-17岁少年打 covid 19 疫苗的守则来了 🤩🤩🤩
千盼万盼,终于等来了这个意义重大的守则了~
你给你家孩子注册打疫苗了吗?? 💉💉
其实从好几个月前开始,医院有陆陆续续地给青少年病患进行评估,准备接种疫苗。
当然,对于这个打疫苗的课题,大家也是疑惑重重,下面给大家贴上了 KKM 发布的咨询,希望可以给青少年们制造一个安全的 herd immunity, 降低他们未来在校园开学的日子里被感染的几率 👍👍
1。会接种什么疫苗?
根据 KKM 的指示,将会是接种2剂的 Comirnaty ( pfizer 出产), 时间间隔21天。
2。会在哪里接种?
目前还没收到正式的通知,但是那些有高风险疾病的青少年会在医院里接种。
3。什么是高风险疾病族群?
指的是那些免疫力比较低的患者,比如先天性疾病,需要洗肾的,需要长期用类固醇 steroid 的, 有癌症正在接受 chemo/radiotherapy 的,有在服用 anticoagulant 比如 warfarin 的 ( 通常是接受过心瓣手术的患者), 有凝血问题的小孩们。
医生会给图3的评估报告,来告知适不适合接种疫苗,有什么特别注意的事项等等。
4。有过敏的孩子可以接种疫苗吗?
根据过敏程度而定,如果是曾经发生休克状态 anaphylaxis event 的,可能就不太适合。
如果只是普通发痒红肿,没有牵涉到支气管的 ( 比如呼吸困难,嘴唇发肿),可以请医生帮忙评估,大致上是可以接种的。
5。一定要家长签字吗?
根据国家法律,18岁以下的青少年无论是大大小小的医疗疗程都需要父母签字哦,所以接种当天,家长请记得带上自己的 IC 出席接种 😉
6。 如何给自己的孩子注册?
相信大部分的孩子在 My sejahtera 里是父母的 dependent 吧? 记得到 my sejahtera apps 里更新,打开 vaccination ➡️ add vaccine dependent, 然后跟着步骤一步步注册就可以啦。
7。想给孩子打其他的疫苗可以吗?
目前为止,很遗憾的没得选 😅
在这个疫情肆虐的情况,先接种了才是安全的 💪💪
8。什么时候开始?
目前我们还在等卫生部的指示当中,但也希望家长们别等了,赶快去注册吧!
更多详情请到官网去看看哦
https://www.vaksincovid.gov.my/
anaphylaxis 在 國家衛生研究院-論壇 Facebook 的最佳貼文
➥【第一劑mRNA新冠疫苗急性過敏者接種第二劑疫苗的安全性評估】:
■背景
文獻報告接種第一劑mRNA疫苗後出現急性過敏反應的機會約為2%,出現全身性嚴重過敏反應(anaphylaxis)的發生率則為萬分之2.5。第一劑出現急性過敏反應者,第二劑再接種同款mRNA疫苗的安全性如何,目前並不清楚。
■方法
共有包括麻省總醫院在內的5間醫院參與此多中心回溯性研究。研究分析於2021年1-3月間第一劑mRNA疫苗(Pfizer-BioNTech或Moderna)出現立即性過敏反應(immediate allergic reaction)者接種同款第二劑疫苗的安全性。納入分析的試驗參與者需符合:(1)第一劑施打後4小時出現症狀,(2)至少出現一種過敏症狀(註1),及(3)經由轉介,接受過敏/免疫諮詢評估者。
全身性嚴重過敏反應(anaphylaxis)的診斷則參照The Brighton Collaboration Anaphylaxis Working Group及NIAID/FAAN的定義(註2)。試驗參與者第一劑疫苗若出現嚴重的立即性過敏反應客觀徵候或有證據顯示為IgE所媒介的過敏反應(如:polyethylene glycol [PEG]皮膚測驗陽性或tryptase試驗陽性),則不建議施打第二劑mRNA疫苗(註3,註4)。
研究主要療效指標(primary endpoint)為第二劑疫苗的耐受性,定義為在第二劑施打後(1)未出現立即的症狀,或是(2)症狀輕微、自限性,或服用抗組織胺後即緩解。
■結果
共189位第一劑出現立即性過敏反應者納入分析,平均年齡43歲,86%為女性,69%第一劑接種Moderna,31%接種Pfizer-BioNTech。第一劑最常報告的反應是潮紅或紅斑(28%)、暈眩(26%)、麻刺感(24%)、咽喉發緊(22%)、蕁麻疹(21%)及喘鳴或呼吸短絀(21%)。
共22(17%)位符合anaphylaxis的標準。經評估後,159(84%)位接受了第二劑mRNA疫苗,其中47(30%)位在第二劑疫苗施打前使用抗組織胺。32 (20%)位在第二劑施打後出現了立即性過敏反應,但症狀均為輕微、自限性,或使用抗組織胺後即緩解。整體而言,所有接種者(包括19位第一劑疫苗發生anaphylaxis者)對第二劑疫苗都有良好的耐受性,平安完成兩劑疫苗療程。
■討論
此研究結果發現即使第一劑mRNA疫苗出現立即性過敏反應,再打同款第二劑疫苗僅20%出現過敏反應,且症狀都很輕微。基於此觀察,作者認為許多第一劑所出現的反應不一定是過敏反應,或是雖屬過敏反應,但並非是由IgE所媒介,且給予抗組織胺即可有效緩解。
因此,未來若須追加疫苗時,仍可再次施打mRNA疫苗。目前美國CDC針對第一劑mRNA疫苗出現立即性過敏反應者,建議第二劑可改打嬌生(Janssen)疫苗。不過此研究顯示即使第一劑出現立即性過敏反應,大部分人接種同款的第二劑疫苗仍是安全的,因此也許不需要考慮採用目前仍未知保護效果的多種混打策略。不過此研究的侷限性包括:回溯性研究、選樣偏差及參與醫院沒有共同的評估內容等,仍需謹慎應用研究結果...完整轉譯文章,詳連結:http://forum.nhri.org.tw/covid19/virus/j_translate/j2690 ( 財團法人國家衛生研究院 吳綺容醫師摘要整理)
▪註1.
過敏反應的症狀及徵候包括:蕁麻疹、嘴唇/眼/舌/喉嚨腫脹、咽喉發緊、嘴巴有金屬味、麻刺感、潮紅、紅斑、心跳加速、高血壓、喘鳴、呼吸短絀、噁心嘔吐、腹痛、暈眩、低血壓、低血氧、心跳變慢等。
▪註2.
NIAID/FAAN:美國國家過敏和傳染病研究所(National Instituteof Allergy and Infectious Diseases)/食品過敏反應和過敏性反應網絡(Food Allergy and Anaphylaxis Network)。
▪註3.
聚乙二醇(polyethylene glycol)為mRNA疫苗的賦形劑。
▪註4.
Tryptase儲存於肥大細胞(mast cell)顆粒中,肥大細胞活化時會將其釋放至血液中。因此tryptase濃度升高可作為全身性嚴重過敏反應(anaphylaxis)的實驗室指標。
📋 JAMA - 2021-07-26
Safety Evaluation of the Second Dose of Messenger RNA COVID-19 Vaccines in Patients With Immediate Reactions to the First Dose
■ Author:Matthew S. Krantz, Jason H. Kwah, Cosby A. Stone Jr, et al.
■ Link:https://jamanetwork.com/journals/jamainternalmedicine/fullarticle/2782348?resultClick=1
〈 國家衛生研究院-論壇 〉
➥ COVID-19學術資源-轉譯文章 - 2021/08/10
衛生福利部
疾病管制署 - 1922防疫達人
疾病管制署
anaphylaxis 在 Anaphylaxis, Animation - YouTube 的必吃
(USMLE topics) Anaphylaxis (incl. anaphylactic shock): etiology, pathophysiology, symptoms and treatment ... ... <看更多>