สมมตินะครับสมมติ สมมติว่าเราเป็นผู้บริหาร อะไรคือสิ่งที่เราจะใช้เป็นแรงจูงใจให้คนในองค์กรอยากจะทำงานให้เราอย่างเต็มที่
ลองนึกโดยสวมหมวกของผู้บริหารดู แล้วมองหาคำตอบที่เป็นไปได้จริง ไม่ใช่แค่ฝันไปลม ๆ แล้ง ๆ
Motivation หรือแรงจูงใจในการทำงาน เป็นเรื่องที่ผมเองมีโอกาสได้พูดคุยอยู่เรื่อย ๆ และยิ่งมากขึ้นในช่วง COVID19 ลองนึกภาพตามนะ เศรษฐกิจหยุดชะงัก รายได้บริษัทลดลง การทำงานที่ยากขึ้นแต่ยังอยากได้เป้าหมายเดิม แปลว่าคนทำงานต้องใช้ความพยายามที่มากขึ้นกว่าเดิมกับรายได้ที่อาจจะเท่าเดิมหรือแม้แต่ลดลงเข้าไปอีก
คำถามก็คือ เราควรใช้ “อะไร” ที่ทำให้คนของเราอยากจะพยายามมากขึ้นกว่าเดิม?
ความจริงอย่างนึงที่พิสูจน์ในแบบไม่เป็นทางการของผมคือ One Size Fits All ไม่มีจริง และถึงแม้เงินจะเป็นเรื่องสำคัญ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าแค่เงินอย่างเดียวเท่านั้นที่จะทำให้คนในองค์กรอยากจะพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม
ความมั่นคงในการทำงาน และความมั่นคงในการใช้ชีวิตให้ดี คืออีกสองเรื่องที่คนทำงานต้องการมากขึ้นในช่วงที่สถานการณ์ยังมองไม่เห็นชัดว่าอะไรคือสิ่งที่เรากำลังเจออยู่ข้างหน้า
Willis Towers Watson ทำการสำรวจกับผู้บริหารองค์กรในช่วง COVID19 และพบข้อมูลทีน่าสนใจคือ 2 ใน 3 หรือ 63 % ของบริษัทในประเทศไทยให้ความใส่ใจกับผลประโยชน์และสวัสดิการที่เกี่ยวข้องกับ Wellbeing มากขึ้น หรือเรียกให้ง่าย ๆ คือสวัสดิการที่ทำให้คุณภาพชีวิตเราดีขึ้น ซึ่งเป็นเรื่องที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจาก COVID19 และไม่ใช่แค่นั้นผู้บริหารเองก็เข้าใจดีว่าวันนี้พนักงานในองค์กรมีความหลากหลายมากขึ้น สวัสดิการที่จะใช้สร้างแรงจูงใจ ทำให้คนทำงานอยากพยายามให้มากขึ้น ก็ต้องแตกต่างไปด้วยตามความหลากหลายของคนในบริษัท
แต่ผลสำรวจก็ยังคงเป็นผลสำรวจ จะเกิดขึ้นจริงก็ต่อเมื่อลงมือทำ และ Flexible Benefits ก็คือ Solution ที่ทำให้สิ่งที่ผู้บริหารคิดและลงมือทำได้จริงจัง ส่งผลต่อการสร้างแรงจูงใจของพนักงาน
ทำความเข้าใจกันก่อนว่า Flexible Benefits คืออะไร ตั้งคำถามแบบย้อนกลับก่อนนะ ลองนึกดูว่าวันนี้บริษัทมีสวัสดิการอะไรให้กับพนักงานบ้าง เป็นสวัสดิการชุดเดียวที่ไม่ว่าใครก็ต้องใช้เหมือน ๆ กัน สมมติว่ามีสวัสดิการอยู่ 10 อย่าง เราใช้จริง ๆ แค่ 3 อย่าง ต่อให้บริษัทเพิ่มสวัสดิการมาอีก 5 อย่างแต่เป็นสิ่งที่ไม่ตรงกับ Lifestyle ของเรา ก็ไม่ส่งผลให้เราอยากจะ “พยายาม” มากขึ้น เพราะเรายังคงใช้สวัสดิการของเราแค่ 3 อย่างเท่าเดิม (เท่ากับว่าบริษัทเสียสวัสดิการที่มีอยู่อีกกว่า 10 อย่าง ที่คนส่วนใหญ่ไม่ได้ใช้ประโยชน์)
แต่ถ้าในงบประมาณที่ไม่ต่างจากเดิมมากนัก เราสามารถเลือกสวัสดิการที่เหมาะสมกับความต้องการของเรา นั่นน่าจะส่งผลดีต่อ “ความพยายาม” แน่ ๆ
ผมเองเคยศึกษา Flexible Benefits และเข้าใจดีว่าการทำให้เกิดความหลากหลายในรูปแบบการให้สวัสดิการ แล้วยิ่งเป็นสวัสดิการที่สามารถตอบสนองกับ Lifestyle ที่แตกต่างกันได้นั้น ทำให้พนักงานรู้สึกและสัมผัสได้ถึงความจริงใจที่องค์กรอยากจะ “ให้”กับพนักงาน ก็ยิ่งทำให้การดึงศักยภาพและสร้างแรงจูงใจ รวมไปถึงการรักษาคนเก่งขององค์กรไว้ ก็น่าจะเรื่องที่ทำได้จริงมากขึ้นกว่าเดิม
เอาจริง ๆ นะ Flexible Benefits ช่วยองค์กรในเรื่องของความคุ้มค่าในการลงทุน Value of Investment (VOI) มากกว่าการจ่ายสวัสดิการแบบเหมารวมที่เน้นในเรื่องของการประหยัดค่าใช้จ่าย แต่กลับไม่ได้ใช้ประโยชน์สูงสุด เพราะฉนั้นถ้ามองการให้สวัสดิการเป็นการ “ลงทุนที่คุ้มค่า”ที่ตอบโจทย์พนักงานให้ใช้ได้จริง Flexible Benefits คือคำตอบที่ดีที่สุดครับ
ย้ำอีกทีว่าผมเคยศึกษา แต่ทำให้เกิดขึ้นจริงไม่ได้ในยุคนั้น เพราะความยุ่งยากของกระบวนการและเทคโนโลยีที่ไม่สนับสนุนมากเพียงพอ รวมถึงแผนของการ “ให้” ก็ไม่ได้หลากหลายมากพอที่จะทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีเมื่อเทียบกับงบประมาณที่ต้องจ่ายไป และวันนั้นความแตกต่างของคนในเรื่อง Lifestyle ก็อาจจะยังไม่ชัดเจนเท่ากับวันนี้ที่องค์กรนึงอาจจะมีหลาย Generation หลายเชื้อชาติ หรีอแม่แต่คน Generation เดียวกัน สัญชาติเดียวกัน ยังมี Lifestyle ที่แตกต่างกัน นั่นทำให้ผู้บริหารหลายๆองค์กรเริ่มนึกถึง Flexible Benefits
แต่ HR อย่าเพิ่งตกใจไปว่าจะยุ่งยากจะซับซ้อนเหมือนยุคก่อนก่อน ๆ เพราะสมัยนี้เราสามารถขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญที่มาพร้อมกับเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้เข้ามาช่วยบริหารจัดการแทนเราได้ Willis Towers Watson มีทีมที่ปรึกษาที่มีประสบการณ์ในการออกแบบแผนสวัสดิการแบบ Flexible Benefits Program ซึ่งจะช่วยให้พนักงานของบริษัทของ HR ทุกท่าน เข้าถึงการ Personalization หรือสามารถเลือกสวัสดิการให้เหมาะสมตรงความต้องการของแต่ละคนจริงๆ โดยไม่ยุ่งยากในการบริหารจัดการ ในงบประมาณที่สามารถควบคุมได้ นอกจากนั้น Willis Towers Watson ยังเน้นย้ำการออกแบบแผน Flexible Benefits Program ที่ “ยั่งยืน” ช่วยให้ HR ไม่ต้องปวดหัวกับกรณีค่าใช้จ่ายด้านสวัดิการที่แพงขึ้นทุกๆปี แต่กลับไม่ตอบโจทย์พนักงานส่วนใหญ่ ซึ่งเป็น 1 ในปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อแรงจูงใจของพนักงานในองค์กรให้อยากทำงานให้เราอย่างเต็มที่
องค์กรไหนที่อยากจะให้ภาพลักษณ์ขององค์กรดูทันสมัย เข้าใจและเชื่อในความแตกต่างของกำลังคนที่เปลี่ยนไปตลอดเวลา Flexible Benefits เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือที่ช่วยยืนยันและย้ำว่าองค์กรเราเชื่อแบบนั้นจริง ๆ และจุดนี้แหละครับที่จะใช้เป็นจุดขายที่ดีขององค์กรในการดึงดูดคนเก่ง และรักษาคนเก่งไว้กับองค์กรได้
สุดท้าย ผมก็ยังมั่นใจว่าเมื่อลงทุนด้วยรูปแบบของ Flexible Benefit เราจะได้ Value of Investment เต็มๆแน่นอน เพราะพนักงานทุกคนของเราจะได้เข้าถึงสวัสดิการ และได้รับคุณค่าจากผลประโยชน์เหล่านั้นอย่างแท้จริง
หากท่านไหนต้องการคำปรึกษาเรื่องการวางแผนและออกแบบผลประโยชน์สวัสดิการพนักงานบริษัทให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด รวมไปถึงเรื่องการสร้างแรงจูงใจและความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
Email: thailand@willistowerswatson.com
Tel: 0615595391
#FlexibleBenefits #WillisTowersWatson
#HRTheNextGen
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「willistowerswatson」的推薦目錄:
- 關於willistowerswatson 在 HR - The Next Gen Facebook 的精選貼文
- 關於willistowerswatson 在 SEMI 國際半導體產業協會 Facebook 的最讚貼文
- 關於willistowerswatson 在 YaoIndia 就是要印度︱認識印度,從這裡開始 Facebook 的精選貼文
- 關於willistowerswatson 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
- 關於willistowerswatson 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於willistowerswatson 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
- 關於willistowerswatson 在 Willis Towers Watson India - 首頁| Facebook 的評價
- 關於willistowerswatson 在 Welcome to Willis Towers Watson - YouTube 的評價
willistowerswatson 在 SEMI 國際半導體產業協會 Facebook 的最讚貼文
💡半導體產業如何利用循環經濟賺進一桶金?
全球氣候變遷,身為景氣成長火車頭的半導體產業也紛紛投入 #循環經濟 的研究。從制定各種製造、安全標準,到節能科技的創新與智慧製造範疇都不脫循環經濟的議題!
📖點擊全文,閱讀領導廠商的解決方案,以及利用循環經濟省億元的會後精華分享→ https://lihi1.com/24IM6
#SEMICONTaiwan #Circulareconomy #工業局 #SEMI #聯電 #Eaton #Edwards #Kanken #工研院 #WillisTowersWatson #安全衛生技術中心
willistowerswatson 在 YaoIndia 就是要印度︱認識印度,從這裡開始 Facebook 的精選貼文
#YaoIndia就是要印度報你知
根據全球顧問公司Willis Towers Watson報告顯示,進入2018年,印度各行業平均預計調漲10%工資,居亞太地區之冠。印尼預計調漲8.5%,中國7%,菲律賓6%,香港和新加坡4%。
說到漲幅,有些朋友應該就會好奇關於印度的基本工資。
目前印度的最低工資與上班族薪資,在每一個省邦都不大一樣;以今年調漲最低工資36%,躍升全印度工資最高的新德里為例,無技術工人最低工資是每月13,350盧比(約新台幣6,183元,但是這是依法規定的金額,其實有很多公司並未依法給薪)。而在新德里,如果月收入落在三萬到五萬盧比(約新台幣13,894~23,156元),普遍就被視為中產階級收入。印度政府也在去年宣布,中央政府僱員的最低薪資為18,000盧比(約新台幣8,336元)。
雖然在發展中國家可能起薪較低,但是可以看到跳躍的幅度很高,菁英階層與一般上班族也有非常大的差距。例如如果你是畢業於印度最難考的MBA IIM(印度管理學院),或是國外科技業都搶著要的IIT(印度理工學院),這些來自最著名學校的畢業生,一出校園月薪可能就從台幣15萬起跳。
而從這樣的薪資增長,也可以體現出發展中國家的快速進步,以及人才缺乏的緊張。具有能力的員工,向上進階或者跳槽的機會也相對高;而要如何讓人才留任,也是在印度企業需要持續思考的。畢竟印度人的積極也可以從調薪中看出,如果老闆不跟他談加薪,他一定會自己去跟老闆談XD
YaoIndia 就是要印度|認識印度,從這裡開始
#YaoIndia #就是要印度 #印度報你知 #印度經濟 #調薪 #加薪 #基本薪資 #薪資趨勢 #WillisTowersWatson
willistowerswatson 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
willistowerswatson 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
willistowerswatson 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
willistowerswatson 在 Welcome to Willis Towers Watson - YouTube 的必吃
Our unique perspective allows us to see the connections between talent, assets and ideas that can drive performance and growth. ... <看更多>
willistowerswatson 在 Willis Towers Watson India - 首頁| Facebook 的必吃
Willis Towers Watson is a leading global advisory, broking and solutions company that helps clients... Plant No. 6, Godrej & Boyce Mfg. Co, L.B.S. Marg,... ... <看更多>