Steven Weinberg เสียชีวิตลงอย่างสงบ ในวันนี้ (24 กรกฎาคม 2021)
วันนี้โลกของเราต้องมาพบกับความสูญเสียอันยิ่งใหญ่อีกรายหนึ่ง โดยนักฟิสิกส์ที่ได้รับรางวัลโนเบลในปี 1979 Steven Weinberg ได้จากไปในวันนี้
Steven Weinberg เป็นนักฟิสิกส์ที่ได้สร้างผลงานเอาไว้เยอะมาก และจัดเป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์อันดับต้นๆ ของโลก ที่ได้มี h-index สูงที่สุดเป็นประวัติกาล
ผลงานของ Steven Weinberg นั้น มีตั้งแต่ในสาขาparticle physics, quantum field theory, symmetry breaking, pion scattering, infrared photons และทฤษฎี quantum gravity
ในปี 1967 Steven Weinberg ได้เสนอทฤษฎีขึ้นมาว่า แรงนิวเคลียร์อ่อน (weak nuclear force) และแรงแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetism) นั้น แท้จริงแล้วนั้นเป็นส่วนหนึ่งของแรงเดียวกัน โดยทฤษฎีที่รวมแรงทั้งสองนี้เข้าไว้ด้วยกันนั้นเรียกว่า electroweak unification theory ซึ่งเป็นครั้งหนึ่งที่นักฟิสิกส์ได้เข้าใกล้ความใฝ่ฝันที่จะสามารถรวบรวมทฤษฎีอธิบายแรงทางฟิสิกส์ทั้งหมดเอาไว้ด้วยกันมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
electroweak unification theory นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่ออธิบาย spontaneous symmetry breaking ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ Higgs mechanism ที่อธิบายได้ว่าสสารเกือบทั้งหมดของเอกภพนั้นมาจากไหน แล้วเพราะเหตุใดพลังงานที่เกิดจากบิ๊กแบงจึงเปลี่ยนไปเป็นสสาร (matter) เกือบทั้งหมด และแทบไม่มีปฏิสสาร (anti-matter) หลงเหลืออยู่เลย นอกจากนี้ผลอย่างหนึ่งที่ได้จาก electroweak unification theory ก็คือการทำนายถึงการมีอยู่ของอนุภาค Higgs Boson ที่ถูกยืนยันการค้นพบไปในปี 2012 โดย LHC
การคิดค้นทฤษฎี electroweak unification theory นี้นั่นเอง ที่ทำให้ Steven Weinberg ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ไปในปี 1979 และปัจจุบัน ผลงานตีพิมพ์ของ Steven Weinberg ที่นำเสนอทฤษฎีนี้ ก็ยังคงเป็นผลงานตีพิมพ์ที่ถูกอ้างอิงถึงมากที่สุดผลงานหนึ่งในวงการ high energy physics
นอกจาก electroweak แล้ว Steven Weinberg ยังได้สร้างผลงานเอาไว้อีกมากในสาขา particle physics, quantum field theory, gravity, supersymmetry, superstrings และ cosmology, รวมไปถึงทฤษฎี Technicolor ที่นำเสนออีกกลไกหนึ่งที่อนุภาคอาจจะมีมวลขึ้นมาได้โดยไม่ต้องพึ่ง Higgs Boson
ผลงานของ Weinberg นั้นมีส่วนเป็นอย่างมากที่นำมาซึ่งยุคอันรุ่งเรืองของฟิสิกส์อนุภาค ผลงานของเขาทำให้เราได้มีทฤษฎี Standard Model ซึ่งเป็นทฤษฎีปัจจุบันที่ดีที่สุดที่สามารถอธิบายถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงทั้งสี่ในเอกภพ และอนุภาคพื้นฐานทั้งหมดที่สามารถเกิดขึ้นได้จากแรงทั้งสี่นี้ ซึ่งสามารถอธิบายได้ถึงอนุภาคทั้งหมดที่เราพบได้ในสสารปัจจุบัน
นอกจากนี้เขายังได้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากมาย เช่น Quantum Field Theory, Superstring theory และเขาได้เป็นส่วนสำคัญในช่วงที่วงการวิทยาศาสตร์กำลังยืนยันถึงการมีอยู่ของต้นกำเนิดของเอกภพที่กำเนิดขึ้นมาจาก Big Bang เรียกได้ว่าวงการฟิสิกส์ในยุคปัจจุบันคงจะแตกต่างไปโดยสิ้นเชิงหากโลกนี้ไม่ได้มี Steven Weinberg ถือกำเนิดขึ้นมา
ซึ่งนอกจากผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์แล้ว Steven Weinberg ยังได้เป็นผู้ที่สื่อสารทางวิทยาศาสตร์ เรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และสร้างความตื่นตัวทางวิทยาศาสตร์ เขายังได้เขียนหนังสืออีกหลายเล่มที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์
นอกไปจากนี้แล้ว Steven Weinberg ยังเป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้หนึ่งที่ออกมาวางตัวในความเชื่ออเทวนิยม (Atheism) ของเขา ครั้งหนึ่งเขาเคยพูดเอาไว้ว่า
"With or without religion, good people can behave well and bad people can do evil; but for good people to do evil--that takes religion" -Steven Weinberg
"ไม่ว่าเราจะมีศาสนาหรือไม่ก็ตาม คนดีก็จะสามารถทำในสิ่งที่ดี คนชั่วก็จะสามารถทำในสิ่งที่ชั่ว แต่มีแต่ศาสนาเท่านั้น ที่จะทำให้คนดีเปลี่ยนไปเป็นทำสิ่งที่ชั่วร้ายได้" -Steven Weinberg
「photons energy」的推薦目錄:
- 關於photons energy 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最讚貼文
- 關於photons energy 在 翻譯這檔事 Facebook 的最佳貼文
- 關於photons energy 在 國立臺灣大學 National Taiwan University Facebook 的精選貼文
- 關於photons energy 在 How To Calculate The Energy of a Photon Given ... - YouTube 的評價
- 關於photons energy 在 Photons Energy Limited | Arusha - Facebook 的評價
photons energy 在 翻譯這檔事 Facebook 的最佳貼文
宇宙的螢火蟲
之前發了一則極短文:
For a few moments, like cosmic fireflies, we will travel with other humans
有些時候,我們會像難以計數的螢火蟲一般與其他人類同行
—《起源的故事》(Origin Story)導論第一段
#掰譯不嫌太早
* * *
熱心好奇的網友Google了一下"cosmic fireflies"並找到一下這標題、文字敘述和一張美呆了的天文照片。(如圖,連結見留言)
//Hubble's Cosmic Fireflies | NASA
Galaxies glow like fireflies in this spectacular NASA/ESA Hubble Space Telescope image! This flickering swarm of cosmic fireflies is a rich cluster of galaxies called Abell 2163.//
一旦發現這美麗的照片,很容易驟下結論。這位網友留言大意是說: 哇,原來cosmic fireflies 指的是天上點點繁星啊!這好難,教人怎麼可能譯對?
另外,譯者本人也分享該篇短文並道歉,大意是說:感謝指正,原來 cosmic fireflies 指繁星,會請出版社再版時改正。
感謝譯者雅量,但故事未完,才剛開始,我覺得這是一場美麗的誤會,必須說明一下。
首先,cosmic fireflies指繁星這說法,不是我說的,而我也不認爲是這樣。
翻譯難的地方就在,每當遇到意思不是非黑即白的原文(例如此處的譬喻),如何思考得出比較合理的詮釋,的確是最困難最費神的,但我們仍要努力說理,以理服人,絕對不是我說了算,還是某某老師說了算。
要解釋這一點,必須回到原文,看作者寫的整段話。
//We arrive in this universe through no choice of our own, at a time and place not of our choosing. For a few moments, like cosmic fireflies, we will travel with other humans, with our parents, with our sisters and brothers, with our children, with friends and enemies. We will travel, too, with other life-forms, from bacteria to baboons, with rocks and oceans and auroras, with moons and meteors, planets and stars, with quarks and photons and supernovas and black holes, with slugs and cell phones, and with lots and lots of empty space. The cavalcade is rich, colorful, cacophonous, and mysterious, and though we humans will eventually leave it, the cavalcade will move on. In the remote future, other travelers will join and leave the cavalcade. Eventually, though, the cavalcade will thin out. Gazillions of years from today, it will fade away like a ghost at dawn, dissolving into the ocean of energy from which it first appeared.//
真正在脈絡裡消化原文的意思後,我們再來討論兩點:
1 爲何作者寫for a few moments,是什麼意思?原譯是「有些時候」,對嗎?我訝異的是,沒有人在這裡起疑!
2 可能因爲所有目光都被cosmic fireflies給吸引住了,也難怪。作者cosmic fireflies的比喻要怎麼翻?
為避免文章太長廢話太多,直接先說結論:
for a few moments 意爲「短暫的時間」,cosmic fireflies 就是字面上的意思:「宇宙(中的)螢火蟲」,整句意爲:
在一段短暫時間裡,我們像宇宙中的螢火蟲一般,與其他人類同行。
作者整段大意:
人的出生全不由己。人的一生跟宇宙其他天體、日月星辰相比,何其短暫。
在這宇宙之中,你我好像螢火蟲一樣,發出微光飛著、動著,和親友等其他人類一起「旅行」,但很快就要離開「車隊」,因爲我們生命很短。(螢火蟲生命一樣很短,以幾個月計算。)
相比之下,車隊的其他成員(其他更長壽的物體,如日月星辰)會繼續旅行更長一段時間。
但,連它們也會同整個宇宙,在很久很久以後的將來,消失毀滅。從無中生有(大霹靂),終歸於無形。
* * *
for a few moments 介系詞 for 的語義就是「一段持續的時間」,這和「有些時候」(sometimes) 意思根本不一樣啊,前者表達在時間軸上一段單一的長度,後者表達在時間軸上分布於多個小段的頻率。
出去跟人約會,時間晚了,你要道別回家,對方說,
Stay with me for a few more moments.
請問你要翻譯成
「再多陪我一點時間」
還是
「有些時候再多陪我一下」?
夠清楚了吧?
而cosmic fireflies因爲是作者比喻我們人類,而人的一生是活著的,不斷隨時間推移,身體也在移動,好比螢火蟲的飛動。螢火蟲的微光,也就是人的生命的光,人死了,光就滅了,這譬喻並不牽強。所以we are like cosmic fireflies就是「我們就像宇宙的螢火蟲」。很多譬喻都可以輕易跨越語言仍被理解,這時,最好的策略就是直譯,無需多此一舉去曲解原文,編出新的但不一樣的意思。
原譯「難以計數的螢火蟲」,是把cosmic不當聯想成「astronomical」(天文)、想起astronomical figure(天文數字->難以計數)。
若是翻譯成「繁星」或「難以計數的星辰」,更不對,因爲人會活動,如螢火蟲會飛動,但天上的星星對我們而言是靜態的。
哈伯望遠鏡拍攝到的星系團,長橢圓的光點,所以「星系團如宇宙的螢火蟲」也是很適切的比喻,因爲看起來像極了螢火蟲。
但此處,作者或許獨立發明,或許借用哈伯那張照片的比喻,但他仍舊創造了一種新的比喻,用螢火蟲來比喻人,我們當然不能硬搬,不當運用消去法,產生「人如繁星」的翻譯:
「星系如宇宙的螢火蟲」
+「人如宇宙的螢火蟲」
-----------------
=「人如繁星」
寫得急,文字雜,編排亂,請見諒。
本文重點:
1 勿忘基本文法(像介系詞for如此基本的文法和字義)!
2 很多譬喻都可輕易跨越語言仍被理解,這時,最好的策略就是直譯。
photons energy 在 國立臺灣大學 National Taiwan University Facebook 的精選貼文
【ANITA 三號昨日早晨在南極升空】
Large balloon carries ANITA into Antarctic sky
揭開宇宙深處的面紗
國立臺灣大學天文物理所及「梁次震宇宙學與粒子天文物理學中心」所參加的國際合作實驗「南極脈衝瞬態天線」(Antarctic Impulsive Transient Antenna, ANITA) 於台北時間12月18日在南極升空。
ANITA 實驗由美國太空總署所特製的大氣球帶往距離地表 35 到 40 公里處的高空,聆聽來自南極冰原中的無線電波訊號,希望能藉由觀測來自宇宙深處的高能微中子,來揭開宇宙深處的祕密。
The Antarctic Impulsive Transient Antenna project serves to identify high energy neutrinos created by collisions between cosmic rays and the the cosmic microwave photons.
NTU's Leung Center for Cosmology and Particle Astrophysics ( LeCosPA) team was part of the international project that lead the airborne device to uncover the mysteries of the universe.
#LeCosPA #ANITA #梁次震中心
(歡迎分享)
photons energy 在 Photons Energy Limited | Arusha - Facebook 的必吃
Photons Energy Limited, Arusha, Tanzania. 22076 likes · 16 talking about this · 165 were here. Photons Energy Ltd is a fast growing Company providing... ... <看更多>
photons energy 在 How To Calculate The Energy of a Photon Given ... - YouTube 的必吃
This chemistry video tutorial explains how to calculate the energy of a photon given the frequency and the wavelength in nm. ... <看更多>