#MERCK Taiwan #防疫關懷包
不論分流還是遠端,一個暖心的關懷,都讓同仁感到凝聚的溫暖。
感謝 MERCK Taiwan與<直接跟農夫買>攜手,為同仁訂製糧食防疫包,不僅傳遞關心給同仁,也希望能關心腳下的土地,支持友善環境的農職人。
這次的防疫包共支持60位以上新北、苗栗、彰化農友與契作生產者!
感謝跨足醫療保健、生命科學與電子科技的 MERCK Taiwan ,在與我們溝通的過程中, 共同 關注 #環境友善、#食安、 #減少包材,發揮企業社會責任,讓美好的影響力在這片土地上散播。
✨若您也有 #CSR特別訂製 的需求,都歡迎告訴我們
信箱:office@bdff.tw
電話:+886-3-317-6585*103 Eric
更多CSR合作案例👉https://bit.ly/3CFVG0e
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過12萬的網紅朱學恒的阿宅萬事通事務所,也在其Youtube影片中提到,今天我又看到覺青們額手稱慶......等等,以覺青的國文能力可能看不懂成語,我要改成:【今天我又看到覺青們說好棒棒,我國大陳時中部長昨天一抱怨,立刻德國的BnT就低頭說願意賣給台灣疫苗啦啊哈哈哈,果然我們是被上天祝福的!】 但是等等,覺青是不是英文跟邏輯都不好啊?昨天因為陳時中上電台抱怨之後,消息...
「merck taiwan」的推薦目錄:
- 關於merck taiwan 在 直接跟農夫買 Facebook 的最讚貼文
- 關於merck taiwan 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
- 關於merck taiwan 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
- 關於merck taiwan 在 朱學恒的阿宅萬事通事務所 Youtube 的最佳解答
- 關於merck taiwan 在 MERCK Taiwan - 首頁| Facebook 的評價
- 關於merck taiwan 在 【Merck 影音小學堂】小兵立大功~藏在快篩試劑的“奈米材料”! 的評價
merck taiwan 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
(รีโพสต์) "ยา โมลนูพิราเวียร์ อยู่ในระหว่างการวิจัยพัฒนา ครับ .. ยังไม่ได้มีให้ใช้"
ตอนนี้มีการแชร์ข้อความและคลิปวีดีโอ ที่พูดถึงยาต้านไวรัส ตัวใหม่ ซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างการวิจัยเพื่อต่อสู้กับโรค covid-19 ชื่อว่ายา Molnupiravir โมลนูพิราเวียร์
ปัญหาคือหลายคนไปแชร์กันในทำนองที่ว่า ไม่ต้องฉีดวัคซีนหรอก เดี๋ยวรอใช้ยาตัวนี้ก็ได้ !?
อย่าทำอย่างนั้นนะครับ !! เพราะยาต้านไวรัสตัวนี้ ยังอยู่ในระหว่างการวิจัยพัฒนาอยู่เลย เป็นหนึ่งในยาอีกเป็น 100 ตัวที่เขาพยายามพัฒนากันเพื่อใช้ในการรักษาโรค covid-19 ซึ่งกว่าจะมีออกมาให้ใช้จริง ก็คงอีกนาน
และประสิทธิภาพของมันก็ไม่ได้สูงเลิศล้ำอย่างที่แชร์กันด้วยนะ
ลองอ่านเนื้อหาเพิ่มเติมได้จากข้อมูลของศูนย์ #ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย เรียบเรียงไว้ด้านล่างครับ
-------
(จาก https://tna.mcot.net/latest-news-708412)
ชัวร์ก่อนแชร์: Molnupiravir ยาต้านไวรัสรักษาโควิด 19 หายภายใน 5 วัน?
ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Taiwan FactCheck Center (ไต้หวัน)
แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ
ประเภทข่าวปลอม: ไม่มีหลักฐานยืนยัน
บทสรุป:
1.ผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 2 พบว่า Molnupiravir ได้ผลดีกับผู้รับเชื้อโควิด 19 ไม่เกิน 5 วัน แต่ไม่มีผลทางการรักษากับผู้ป่วยที่รักษาตัวในโรงพยาบาล
2.ประสิทธิภาพของยายังต้องรอผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ต่อไป
ข้อมูลที่ถูกแชร์:
เป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่มีหลักฐานยืนยันเกี่ยวกับ Molnupiravir ยาต้านไวรัสโควิด 19 ซึ่งอยู่ในระหว่างการทดลองโดย Merck บริษัทผู้ผลิตยาในประเทศสหรัฐอเมริกา
หนึ่งในข้อความอวดอ้างสรรพคุณของ Molnupiravir คือข้อความจาก Facebook ซึ่งส่งต่อกันในไต้หวันช่วงต้นเดือนเมษายน โดยข้อความระบุว่าบริษัทผู้ผลิตยาจากอเมริกา ได้ผลิตยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดน้ำในชื่อ Molnupiravir ผู้ป่วยสามารถกินยาอยู่กับบ้านและเชื้อจะหมดไปจากร่างกายภายใน 5 วัน ตัวยาผ่านการทดลองทางคลินิกระยะที่ 1 และ 2 เรียบร้อยแล้ว ซึ่งการทดลองในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ 100% การทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ใกล้จะเสร็จสิ้นและได้ผลที่น่าพอใจ คาดว่าจะวางจำหน่ายในท้องตลาดในอีก 4 ถึง 5 เดือนข้างหน้า และต่อไปโควิด 19 จะรักษาได้เองที่บ้านไม่ต่างจากไข้หวัดธรรมดา
FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง:
ข้ออ้างเกี่ยวกับ Molnupiravir ที่ถูกแชร์เหล่านี้มีข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหลายประการ แยกเป็นประเด็นได้ดังนี้
1.Molnupiravir เป็นยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดน้ำ – ไม่เป็นความจริง
บริษัท Merck ระบุว่า Molnupiravir เป็นยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดเม็ด ไม่ใช่ยาต้านไวรัสชนิดน้ำอย่างที่กล่าวอ้าง
2.การทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ของ Molnupiravir ใกล้จะเสร็จสิ้นและได้ผลที่น่าพอใจ – ไม่เป็นความจริง
เมื่อวันที่ 15 เมษายน Merck ได้เผยแพร่ความคืบหน้าการทดลองยาต้านไวรัสโควิด 19 Molnupiravir ทางเว็บไซต์ โดยบริษัทเตรียมทำการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 กับผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่ยังไม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ดังนั้นการทดลองยังไม่ใกล้ที่จะได้ผลสรุปตามที่กล่าวอ้าง
3.การทดลอง Molnupiravir ในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ 100% – ไม่เป็นความจริง
ในการทดลองยา Molnupiravir มีการแบ่งผู้ทดลองเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่ม MOVe-OUT ซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 ระยะแรกซึ่งยังไม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล และกลุ่ม MOVe-IN ซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่รักษาตัวในโรงพยาบาล
ผลการทดลองพบว่าการใช้ยา Molnupiravir ได้ผลดีกับกลุ่ม MOVe-OUT และจะทำการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 กับกลุ่มนี้ต่อไป แต่จะไม่ทำการทดลองต่อกับกลุ่ม MOVe-IN หรือกลุ่มผู้ป่วยมีอาการของโรคมาเป็นเวลานานและรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล เพราะการทดลองพบว่าการใช้ยา Molnupiravir ไม่มีผลในรักษากับผู้ป่วยกลุ่มนี้ เป็นการยืนยันว่า Molnupiravir ไม่สามารถรักษาผู้ป่วยโควิด 19 ทุกรายอย่างที่กล่าวอ้าง
4.ผู้ป่วยโควิด 19 สามารถกินยา Molnupiravir อยู่กับบ้านและเชื้อจะหมดไปจากร่างกายภายใน 5 วัน – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
รอย เบนส์ หัวหน้าศูนย์วิจัยของ Merck อธิบายกับเว็บไซต์ STAT ว่า ผลการทดลองพบว่า Molnupiravir ได้ผลดีที่สุดกับผู้ที่รับเชื้อโควิด 19 ไม่เกิน 5 วัน ซึ่งการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ทีมวิจัยจะลดระยะเวลาของการติดเชื้อในกลุ่มตัวอย่างจาก 7 วันเหลือ 5 วัน โดยจะให้กลุ่มตัวอย่างรับยาสูงสุดที่ 800 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง ซึ่งผลการทดลองคาดว่าจะออกมาในช่วงเดือนกันยายนหรือตุลาคม
ขณะที่สรรพคุณของยายังอยู่ในการทดลอง การอ้างว่า Molnupiravir สามารถกำจัดเชื้อโควิด 19 ได้ภายใน 5 วันจึงเป็นข้ออ้างไม่มีหลักฐานยืนยัน
5.คาดว่า Molnupiravir จะวางจำหน่ายในท้องตลาดในอีก 4 ถึง 5 เดือนข้างหน้า – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
ดร.ฉี๋ซิงปัง จากสถาบัน Academia Sinica และสถาบันสุขภาพแห่งไต้หวัน กล่าวว่า Molnupiravir เพิ่งจะเข้าสู่ทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 และต้องทำการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างอีกประมาณ 3,000 คน
Merck คาดว่า Molnupiravir จะใช้เวลาในการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 อีกประมาณ 5 ถึง 6 เดือน และจะสามารถวางจำหน่ายในช่วงครึ่งหลังของปี 2021 แต่การกล่าวอ้างว่า Molnupiravir จะวางจำหน่ายในอีก 4 ถึง 5 เดือนเป็นการคาดเดาที่ไม่มีหลักฐานยืนยัน
6.Molnupiravir ทำให้โควิด 19 สามารถรักษาได้เองที่บ้านไม่ต่างจากไข้หวัดธรรมดา – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
เฉินฉิวฉี ศาสตราจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย National Taiwan University อธิบายว่า แม้ Molnupiravir จะมีผลการทดลองที่ดี แต่ตัวยายังต้องผ่านการพิจารณาจากหน่วยงานด้านสาธารณสุขก่อนจะได้รับการอนุมัติให้ใช้กับประชาชนทั่วไป
เฉินฉิวฉี ย้ำว่าสิ่งท้าทายผู้ผลิตวัคซีนและยาต้านไวรัสในวันนี้ คือไวรัสโควิด 19 กลายพันธุ์ที่กำลังระบาดไปทั่วโลก ส่งผลให้ผู้ที่หายป่วยจากโควิด 19 สายพันธุ์เดิมมาแล้วยังสามารถกลับไปติดเชื้อได้อีก ประสิทธิภาพของยาและวัคซีนในการรับมือกับไวรัสโควิด 19 กลายพันธุ์จึงเป็นเรื่องที่หลายฝ่ายตั้งคำถาม การอ้างว่า Molnupiravir จะสามารถรักษาโควิด 19 ทุกชนิดได้ จึงเป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่มีหลักฐานยืนยัน
ข้อมูลอ้างอิง:
https://tfc-taiwan.org.tw/articles/5283
https://www.statnews.com/2021/04/15/merck-to-continue-tests-of-covid-pill-but-stop-trial-in-hospitalized-patients/
https://www.merck.com/news/merck-and-ridgeback-biotherapeutics-provide-update-on-progress-of-clinical-development-program-for-molnupiravir-an-investigational-oral-therapeutic-for-the-treatment-of-mild-to-moderate-covid-19/
-------
(เพิ่มเติมจาก wikipedia)
โมลนูพิราเวียร์, อังกฤษ: Molnupiravir (รหัสการพัฒนา MK-4482 และ EIDD-2801) เป็นยาต้านไวรัสทดลองซึ่งออกฤทธิ์โดยการให้ทางปาก ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ โดยเป็นโปร-ดรักของอนุพันธ์ของ เอ็น4-ไฮดรอกซีไซติดีน (N4-hydroxycytidine ของนิวคลีโอไซด์สังเคราะห์ และออกฤทธิ์ต้านไวรัสโดยการนำข้อผิดพลาดในการคัดลอกระหว่างการจำลองแบบของไวรัสอาร์เอ็นเอ[1][2] นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นฤทธิ์ต่อต้านไวรัสโคโรนา เช่น ซาร์ส, เมอร์ส และ SARS-CoV-2[3]
หลังจากพบว่ามีฤทธิ์ต่อต้านไวรัส SARS-CoV-2 ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการทดสอบโมลนูพิราเวียร์ในการศึกษาเบื้องต้นในมนุษย์เรื่อง "ความปลอดภัย, ความทนทานต่อยา และเภสัชจลนศาสตร์" ในอาสาสมัครที่มีสุขภาพดีในสหราชอาณาจักรและสหรัฐ[6] ต่อมาในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 บริษัทริดจ์แบ็ก ไบโอเทราพิวติกส์ ประกาศว่าจะเริ่มต้นทดลองในระยะที่ 2 เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของยาในการรักษาโควิด-19[7] การทดลองสองครั้งของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและที่ไม่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลในสหรัฐและสหราชอาณาจักรดำเนินการในเดือนกรกฎาคม[8][9] ในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 โดยที่ยังไม่มีการเปิดเผยข้อมูลทางการแพทย์ใด ๆ บริษัทเมอร์ค ซึ่งเป็นพันธมิตรกับริดจ์แบ็ก ไบโอเทราพิวติกส์ ในการพัฒนายาได้ประกาศความตั้งใจที่จะเริ่มการทดลองขั้นสุดท้ายของยาโมลนูพิราเวียร์ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2563[10] เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เมอร์คเริ่มการทดลองระยะที่ 2/3 เป็นเวลา 1 ปี โดยมุ่งเน้นไปที่ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล[11]
เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการเผยแพร่บทความซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในวารสารเนเจอร์ เกี่ยวกับผลการศึกษาของการรักษาเฟร์ริตที่ติดเชื้อโควิด-19 ด้วยยาโมลนูพิราเวียร์[12] จากการศึกษาพบว่ายามีประสิทธิภาพ "เมื่อให้ทางปากกับเฟร์ริตที่ติดเชื้อ และป้องกันการแพร่กระจายของไวรัสระหว่างเฟร์ริตหลังจาก 24 ชั่วโมงภายหลังการให้ยา
จาก https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C
merck taiwan 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
"ยา โมลนูพิราเวียร์ อยู่ในระหว่างการวิจัยพัฒนา ครับ .. ยังไม่ได้มีให้ใช้"
ตอนนี้มีการแชร์ข้อความและคลิปวีดีโอ ที่พูดถึงยาต้านไวรัส ตัวใหม่ ซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างการวิจัยเพื่อต่อสู้กับโรค covid-19 ชื่อว่ายา Molnupiravir โมลนูพิราเวียร์
ปัญหาคือหลายคนไปแชร์กันในทำนองที่ว่า ไม่ต้องฉีดวัคซีนหรอก เดี๋ยวรอใช้ยาตัวนี้ก็ได้ !?
อย่าทำอย่างนั้นนะครับ !! เพราะยาต้านไวรัสตัวนี้ ยังอยู่ในระหว่างการวิจัยพัฒนาอยู่เลย เป็นหนึ่งในยาอีกเป็น 100 ตัวที่เขาพยายามพัฒนากันเพื่อใช้ในการรักษาโรค covid-19 ซึ่งกว่าจะมีออกมาให้ใช้จริง ก็คงอีกนาน
และประสิทธิภาพของมันก็ไม่ได้สูงเลิศล้ำอย่างที่แชร์กันด้วยนะ
ลองอ่านเนื้อหาเพิ่มเติมได้จากข้อมูลของศูนย์ #ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย เรียบเรียงไว้ด้านล่างครับ
-------
(จาก https://tna.mcot.net/latest-news-708412)
ชัวร์ก่อนแชร์: Molnupiravir ยาต้านไวรัสรักษาโควิด 19 หายภายใน 5 วัน?
ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Taiwan FactCheck Center (ไต้หวัน)
แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ
ประเภทข่าวปลอม: ไม่มีหลักฐานยืนยัน
บทสรุป:
1.ผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 2 พบว่า Molnupiravir ได้ผลดีกับผู้รับเชื้อโควิด 19 ไม่เกิน 5 วัน แต่ไม่มีผลทางการรักษากับผู้ป่วยที่รักษาตัวในโรงพยาบาล
2.ประสิทธิภาพของยายังต้องรอผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ต่อไป
ข้อมูลที่ถูกแชร์:
เป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่มีหลักฐานยืนยันเกี่ยวกับ Molnupiravir ยาต้านไวรัสโควิด 19 ซึ่งอยู่ในระหว่างการทดลองโดย Merck บริษัทผู้ผลิตยาในประเทศสหรัฐอเมริกา
หนึ่งในข้อความอวดอ้างสรรพคุณของ Molnupiravir คือข้อความจาก Facebook ซึ่งส่งต่อกันในไต้หวันช่วงต้นเดือนเมษายน โดยข้อความระบุว่าบริษัทผู้ผลิตยาจากอเมริกา ได้ผลิตยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดน้ำในชื่อ Molnupiravir ผู้ป่วยสามารถกินยาอยู่กับบ้านและเชื้อจะหมดไปจากร่างกายภายใน 5 วัน ตัวยาผ่านการทดลองทางคลินิกระยะที่ 1 และ 2 เรียบร้อยแล้ว ซึ่งการทดลองในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ 100% การทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ใกล้จะเสร็จสิ้นและได้ผลที่น่าพอใจ คาดว่าจะวางจำหน่ายในท้องตลาดในอีก 4 ถึง 5 เดือนข้างหน้า และต่อไปโควิด 19 จะรักษาได้เองที่บ้านไม่ต่างจากไข้หวัดธรรมดา
FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง:
ข้ออ้างเกี่ยวกับ Molnupiravir ที่ถูกแชร์เหล่านี้มีข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหลายประการ แยกเป็นประเด็นได้ดังนี้
1.Molnupiravir เป็นยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดน้ำ – ไม่เป็นความจริง
บริษัท Merck ระบุว่า Molnupiravir เป็นยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดเม็ด ไม่ใช่ยาต้านไวรัสชนิดน้ำอย่างที่กล่าวอ้าง
2.การทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ของ Molnupiravir ใกล้จะเสร็จสิ้นและได้ผลที่น่าพอใจ – ไม่เป็นความจริง
เมื่อวันที่ 15 เมษายน Merck ได้เผยแพร่ความคืบหน้าการทดลองยาต้านไวรัสโควิด 19 Molnupiravir ทางเว็บไซต์ โดยบริษัทเตรียมทำการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 กับผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่ยังไม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ดังนั้นการทดลองยังไม่ใกล้ที่จะได้ผลสรุปตามที่กล่าวอ้าง
3.การทดลอง Molnupiravir ในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ 100% – ไม่เป็นความจริง
ในการทดลองยา Molnupiravir มีการแบ่งผู้ทดลองเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่ม MOVe-OUT ซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 ระยะแรกซึ่งยังไม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล และกลุ่ม MOVe-IN ซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่รักษาตัวในโรงพยาบาล
ผลการทดลองพบว่าการใช้ยา Molnupiravir ได้ผลดีกับกลุ่ม MOVe-OUT และจะทำการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 กับกลุ่มนี้ต่อไป แต่จะไม่ทำการทดลองต่อกับกลุ่ม MOVe-IN หรือกลุ่มผู้ป่วยมีอาการของโรคมาเป็นเวลานานและรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล เพราะการทดลองพบว่าการใช้ยา Molnupiravir ไม่มีผลในรักษากับผู้ป่วยกลุ่มนี้ เป็นการยืนยันว่า Molnupiravir ไม่สามารถรักษาผู้ป่วยโควิด 19 ทุกรายอย่างที่กล่าวอ้าง
4.ผู้ป่วยโควิด 19 สามารถกินยา Molnupiravir อยู่กับบ้านและเชื้อจะหมดไปจากร่างกายภายใน 5 วัน – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
รอย เบนส์ หัวหน้าศูนย์วิจัยของ Merck อธิบายกับเว็บไซต์ STAT ว่า ผลการทดลองพบว่า Molnupiravir ได้ผลดีที่สุดกับผู้ที่รับเชื้อโควิด 19 ไม่เกิน 5 วัน ซึ่งการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ทีมวิจัยจะลดระยะเวลาของการติดเชื้อในกลุ่มตัวอย่างจาก 7 วันเหลือ 5 วัน โดยจะให้กลุ่มตัวอย่างรับยาสูงสุดที่ 800 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง ซึ่งผลการทดลองคาดว่าจะออกมาในช่วงเดือนกันยายนหรือตุลาคม
ขณะที่สรรพคุณของยายังอยู่ในการทดลอง การอ้างว่า Molnupiravir สามารถกำจัดเชื้อโควิด 19 ได้ภายใน 5 วันจึงเป็นข้ออ้างไม่มีหลักฐานยืนยัน
5.คาดว่า Molnupiravir จะวางจำหน่ายในท้องตลาดในอีก 4 ถึง 5 เดือนข้างหน้า – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
ดร.ฉี๋ซิงปัง จากสถาบัน Academia Sinica และสถาบันสุขภาพแห่งไต้หวัน กล่าวว่า Molnupiravir เพิ่งจะเข้าสู่ทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 และต้องทำการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างอีกประมาณ 3,000 คน
Merck คาดว่า Molnupiravir จะใช้เวลาในการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 อีกประมาณ 5 ถึง 6 เดือน และจะสามารถวางจำหน่ายในช่วงครึ่งหลังของปี 2021 แต่การกล่าวอ้างว่า Molnupiravir จะวางจำหน่ายในอีก 4 ถึง 5 เดือนเป็นการคาดเดาที่ไม่มีหลักฐานยืนยัน
6.Molnupiravir ทำให้โควิด 19 สามารถรักษาได้เองที่บ้านไม่ต่างจากไข้หวัดธรรมดา – ไม่มีหลักฐานยืนยัน
เฉินฉิวฉี ศาสตราจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย National Taiwan University อธิบายว่า แม้ Molnupiravir จะมีผลการทดลองที่ดี แต่ตัวยายังต้องผ่านการพิจารณาจากหน่วยงานด้านสาธารณสุขก่อนจะได้รับการอนุมัติให้ใช้กับประชาชนทั่วไป
เฉินฉิวฉี ย้ำว่าสิ่งท้าทายผู้ผลิตวัคซีนและยาต้านไวรัสในวันนี้ คือไวรัสโควิด 19 กลายพันธุ์ที่กำลังระบาดไปทั่วโลก ส่งผลให้ผู้ที่หายป่วยจากโควิด 19 สายพันธุ์เดิมมาแล้วยังสามารถกลับไปติดเชื้อได้อีก ประสิทธิภาพของยาและวัคซีนในการรับมือกับไวรัสโควิด 19 กลายพันธุ์จึงเป็นเรื่องที่หลายฝ่ายตั้งคำถาม การอ้างว่า Molnupiravir จะสามารถรักษาโควิด 19 ทุกชนิดได้ จึงเป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่มีหลักฐานยืนยัน
ข้อมูลอ้างอิง:
https://tfc-taiwan.org.tw/articles/5283
https://www.statnews.com/2021/04/15/merck-to-continue-tests-of-covid-pill-but-stop-trial-in-hospitalized-patients/
https://www.merck.com/news/merck-and-ridgeback-biotherapeutics-provide-update-on-progress-of-clinical-development-program-for-molnupiravir-an-investigational-oral-therapeutic-for-the-treatment-of-mild-to-moderate-covid-19/
-------
(เพิ่มเติมจาก wikipedia)
โมลนูพิราเวียร์, อังกฤษ: Molnupiravir (รหัสการพัฒนา MK-4482 และ EIDD-2801) เป็นยาต้านไวรัสทดลองซึ่งออกฤทธิ์โดยการให้ทางปาก ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ โดยเป็นโปร-ดรักของอนุพันธ์ของ เอ็น4-ไฮดรอกซีไซติดีน (N4-hydroxycytidine ของนิวคลีโอไซด์สังเคราะห์ และออกฤทธิ์ต้านไวรัสโดยการนำข้อผิดพลาดในการคัดลอกระหว่างการจำลองแบบของไวรัสอาร์เอ็นเอ[1][2] นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นฤทธิ์ต่อต้านไวรัสโคโรนา เช่น ซาร์ส, เมอร์ส และ SARS-CoV-2[3]
หลังจากพบว่ามีฤทธิ์ต่อต้านไวรัส SARS-CoV-2 ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการทดสอบโมลนูพิราเวียร์ในการศึกษาเบื้องต้นในมนุษย์เรื่อง "ความปลอดภัย, ความทนทานต่อยา และเภสัชจลนศาสตร์" ในอาสาสมัครที่มีสุขภาพดีในสหราชอาณาจักรและสหรัฐ[6] ต่อมาในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 บริษัทริดจ์แบ็ก ไบโอเทราพิวติกส์ ประกาศว่าจะเริ่มต้นทดลองในระยะที่ 2 เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของยาในการรักษาโควิด-19[7] การทดลองสองครั้งของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและที่ไม่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลในสหรัฐและสหราชอาณาจักรดำเนินการในเดือนกรกฎาคม[8][9] ในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 โดยที่ยังไม่มีการเปิดเผยข้อมูลทางการแพทย์ใด ๆ บริษัทเมอร์ค ซึ่งเป็นพันธมิตรกับริดจ์แบ็ก ไบโอเทราพิวติกส์ ในการพัฒนายาได้ประกาศความตั้งใจที่จะเริ่มการทดลองขั้นสุดท้ายของยาโมลนูพิราเวียร์ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2563[10] เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เมอร์คเริ่มการทดลองระยะที่ 2/3 เป็นเวลา 1 ปี โดยมุ่งเน้นไปที่ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล[11]
เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการเผยแพร่บทความซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในวารสารเนเจอร์ เกี่ยวกับผลการศึกษาของการรักษาเฟร์ริตที่ติดเชื้อโควิด-19 ด้วยยาโมลนูพิราเวียร์[12] จากการศึกษาพบว่ายามีประสิทธิภาพ "เมื่อให้ทางปากกับเฟร์ริตที่ติดเชื้อ และป้องกันการแพร่กระจายของไวรัสระหว่างเฟร์ริตหลังจาก 24 ชั่วโมงภายหลังการให้ยา
จาก https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C
merck taiwan 在 朱學恒的阿宅萬事通事務所 Youtube 的最佳解答
今天我又看到覺青們額手稱慶......等等,以覺青的國文能力可能看不懂成語,我要改成:【今天我又看到覺青們說好棒棒,我國大陳時中部長昨天一抱怨,立刻德國的BnT就低頭說願意賣給台灣疫苗啦啊哈哈哈,果然我們是被上天祝福的!】
但是等等,覺青是不是英文跟邏輯都不好啊?昨天因為陳時中上電台抱怨之後,消息上了金融時報(Financial Times),標題說的是:【Taiwan accuses China of blocking efforts to buy Covid vaccines】,台灣指控中國阻擋購買疫苗的動作!而且內文裡面非常特別,陳時中並沒有指名道姓說是中國,反而是一個自稱有參與台灣疫苗採購的匿名資深官員說是中國復星在最後關頭介入。可是文末陳時中又說他認為上海復星透過跟台灣的商業管道接觸以保護自己的商業利益沒甚麼好指責的。【There is nothing to say against Fosun protecting their commercial interests】。
而且該篇報導最後有說撰稿記者詢問了BnT的亞洲公關公司、詢問了復星、詢問了中國政府都沒有回應。
所以後續Bloomberg和路透社的記者才會繼續去追問,不是甚麼陳時中逼著德國公司必須要回應好嗎?
十小時之前路透社才寫出了報導獲得了回應。但原文並沒有說得很明確,沒有像台灣這邊忽然之間大肆慶祝說對方已經答應要賣給我們了,原文沒說啊!老是這樣腦補會讓大家有錯誤期待啊!
因為BnT的回應非常官樣文章而且小心,【“BioNTech is committed to help bringing an end to the pandemic for people across the world and we intend to supply Taiwan with our vaccine as part of this global commitment. Discussions are ongoing and BioNTech will provide an update.”】(BnT努力協助全球的人們結束這場疫情,而我們打算要提供疫苗給台灣,成為我們這個努力的一部份。我們還在持續議約,而稍後BNT會提供更新的消息。)
ㄟ,內文的進度跟之前台灣CDC的抱怨一樣,對方有意願,但是還在議約啊!沒有像很多媒體所寫的甚麼突破中國封鎖,抱怨有效,BnT承諾銷售疫苗給台灣,根本沒有這樣的文字啊!BnT沒有承諾任何事情啊!現在是不是高興得太早了,台灣的防疫成就是靠擔心太早,不是靠放心太早而獲得的啊!大家是不是忘記了這個教訓?!
而且路透社的內文還強調了一件事,上海復星為了買疫苗和獲得大中華區代理權,花了八千五百萬美金,更注資五千萬美金成為擁有德方BnT 0.7%股票的股東!媽呀!這下子BnT不就是中資了嗎?這樣他的疫苗我們到底要不要用,能不能買啊?
另外,根據聯合報跟中央社的報導,在今年二月三號的時候:【疾管署檢驗及疫苗研製中心副主任江正榮今天在「新冠肺炎疫苗發展的瓶頸及解決之道」研討會中表示,指揮中心不只和輝瑞及BnT、莫德納(Moderna)、阿斯特捷利康(AZ)洽談疫苗,檯面下也正和嬌生(J&J)、默克(Merck)、諾瓦瓦克斯(Novavax)接觸。】但是等等!我看了覺得有甚麼不對啊!CNN在一月二十五號的時候就報導了【Merck stopping development of its Covid-19 vaccine candidates】,因為研發出來的疫苗效果不佳,所以他們已經轉而開發治療新冠肺炎的特效藥了。已經新聞報導出來九天的事情,怎麼會疾管署的疫苗專家會不知道呢?這樣是不是太尷尬了?
好啦,最後在減肥的 @謝曜州 特別強調,他今天還可以談談香菜小編治國的部分,還有他特別強調要吃沙拉不要放醬!囉哩巴唆點了一堆!多運動不就好了嗎?囉嗦~~~
阿宅萬事通語錄貼圖上架囉 https://reurl.cc/dV7bmD
【加入YT會員按鈕】 https://reurl.cc/raleRb
【訂閱YT頻道按鈕】 https://reurl.cc/Q3k0g9
購買朱大衣服傳送門: https://shop.lucifer.tw/ (補上一堆新貨到啦)
本日參考資料:
https://reurl.cc/e9Xbzj
https://reurl.cc/3NOAX0
https://reurl.cc/bz7bVv
https://reurl.cc/jql4WZ
https://reurl.cc/6yN4vM
https://reurl.cc/5oMLvV
merck taiwan 在 【Merck 影音小學堂】小兵立大功~藏在快篩試劑的“奈米材料”! 的必吃
【Merck 影音小學堂】小兵立大功~藏在快篩試劑的“奈米材料”! 33,109 views33K views. Jun 15, 2021 ... 台 ... ... <看更多>
merck taiwan 在 MERCK Taiwan - 首頁| Facebook 的必吃
默克是一個橫跨醫藥健康、生命科學、與電子科技三大領域的頂尖企業,憑藉在66個國家的58,000名員工對科學與科技的熱情,致力為現今最嚴峻的挑戰做出改善,並創造更永續 ... ... <看更多>