อ้อ เรือไดหมึก ส่องแสงขึ้นฟ้า
แสงสีเขียวปริศนา เหนือน่านฟ้าไทย
เมื่อวานนี้ (28 ตุลาคม 2563) มีการแชร์ภาพจากพื้นที่ในจังหวัดระนอง ที่เห็นแสงสีเขียวแปลกประหลาดส่องสว่างขึ้นเหนือขอบฟ้าในทางทิศตะวันตก และตั้งข้อสงสัยว่าเป็นอะไรกันแน่
แสงสีเขียวนั้นเกิดขึ้นได้ค่อนข้างยากในธรรมชาติ สามารถเกิดขึ้นได้หากมีอุกกาบาตไฟร์บอลลูกใหญ่ๆ ที่มีโลหะนิกเกิลเป็นองค์ประกอบ จะสามารถส่องเป็นแสงสีเขียวได้ แต่ก็จะเกิดขึ้นเพียงเสี้ยววินาทีก่อนที่จะดับไป จึงไม่ใช่ อีกความเป็นไปได้หนึ่งก็คือแสงจากออโรร่า ที่เปล่งออกมาเป็นสีเขียว แต่ออโรร่านั้นไม่สามารถสังเกตเห็นได้จากแถบใกล้ศูนย์สูตรเช่นประเทศไทย ยกเว้นเสียแต่จะมีพายุสุริยะที่รุนแรงมาก ซึ่งก็จะต้องได้รับรายงานเห็นในที่ละติจูดที่สูงกว่าเช่นกัน รายนี้ก็ตกไปเช่นกัน
ความเป็นไปได้เดียวที่หลงเหลืออยู่ ก็คือแสงที่มนุษย์สร้าง ซึ่งหากพิจารณาจากว่าในริมชายฝั่งประเทศไทยมีการประกอบการประมงใช้ "เรือไดหมึก" ซึ่งปล่อยแสงสีเขียวสว่างจ้าไปทั่วท้องฟ้ากันเป็นประจำ คำอธิบายที่ชัดเจนและง่ายที่สุดก็คือแสงจากเรือไดหมึกนั่นเอง ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้กับภาพที่ผมถ่ายเอาไว้เองเมื่อปี 2014 (ภาพบนซ้าย) จะเห็นได้ว่าไม่ต่างอะไรกันมากนัก
อาจจะแค่บังเอิญว่าวันนั้นสภาพอากาศทำให้แสงเรือไดหมึกสะท้อนออกมามากที่สุดก็ได้ ก็เลยดูแปลกตา แตกตื่นกันเป็นพิเศษ แสงสีเขียวเดียวกันนี้เคยทำให้แตกตื่นกันไปถึงในอวกาศทีเดียว เพราะนักบินอวกาศที่ส่องลงมาจากสถานีอวกาศนานาชาติ ก็ต้องอึ้งกับแสงสีเขียวเหนือท้องทะเลไทยเช่นกัน (ภาพขวา)[2]
แต่สุดท้าย ทั้งหมดนี่ก็เป็นแค่แสงจากเรือไดหมึก ปริศนาไขกระจ่างแล้ว ปิดคดี จบข่าว แยกย้าย
(อัพเดต: ล่าสุดมีรายงานว่าแหล่งแสงที่มนุษย์สร้างอีกแหล่ง อาจจะมาจากประเทศเพื่อนบ้านครับ ซึ่งก็เป็นไปได้เช่นกัน และอาจจะทำให้เกิดแสงสว่างส่องไปบนเมฆได้อย่างที่เห็น แต่จะเก็บเนื้อหาเกี่ยวกับเรือไดหมึกเอาไว้เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน)
แต่มาถึงตรงนี้เราอาจจะถามอะไรกันต่อ ว่าแต่ว่า แล้วทำไมต้องสีเขียว??? แสงสีเขียวมีความพิเศษอย่างไร? อันนี้เป็นคำถามที่น่าสนใจ และไม่ได้ตอบกันง่ายๆ ต้องพิจารณากันหลายแง่มุม เป็นคำถามที่ส่งเสริม STEM ศึกษาอย่างแท้จริง
เราอาจจะเริ่มจากคำตอบในเชิงฟิสิกส์ แสงสีเขียวมีคุณสมบัติพิเศษอย่างไรหรือไม่กับน้ำทะเล? เป็นช่วงความยาวคลื่นพิเศษที่ส่องได้ดีหรือเปล่า? ปรากฏว่าแสงสีเขียวนั้นไม่ได้มีความพิเศษอะไร อยู่ตรงกลางๆ ของสเปกตรัม น้ำทะเลนั้นจะดูดกลืนแสงความยาวคลื่นมากได้ดีกว่า เป็นเหตุผลว่าทำไมน้ำทะเลจึงเป็นสีน้ำเงิน และเพราะเหตุใดสัตว์ใต้ท้องทะเลลึกจึงเป็นสีแดง เพราะแสงสีแดงนั้นไม่ตกถึงพื้นทะเลเลย ซึ่งถ้าพูดเช่นนั้นแล้วเราก็น่าจะอนุมานได้ว่าแสงสีน้ำเงินน่าจะส่องทะลุทะลวงได้ดีกว่า แล้วทำไมถึงไม่ใช้แสงสีน้ำเงิน??
ถัดไปเราอาจจะลองหาคำตอบเชิงชีววิทยาดูบ้าง เป็นไปได้ไหมที่แสงสีเขียวนี้เป็นแสงที่ตอบสนองได้ดีที่สุดในสัตว์จำพวกหมึก ว่าแต่ว่าทำไมไฟมันถึงล่อหมึกได้? มันจะพุ่งเข้ามาหาพระแสงอะไร?
ซึ่งคำตอบหลังนี้นั้นตอบได้ยากกว่ามาก ในงานวิจัยทีตีพิมพ์ในปี 1979 ได้ตั้งสมมติฐานการตอบสนองต่อแสงในสัตว์กลุ่ม Cephalopodd เอาไว้ 7 ประการด้วยกัน ได้แก่ 1) positive phototaxis 2) intensity preference
(brightness) 3) wavelength preference (color response) 4) conditioned or unconditioned response where light is associated with
food 5) curiosity6) photic disorientation and 7) hypnosis อย่างไรก็ตาม งานวิจัยดังกล่าวไม่สามารถยืนยันได้ว่าเพราะเหตุใดหมึกจึงพุ่งมาหาแสงไฟ
สำหรับแมลงบนบกนั้น เราพอจะทราบว่าสาเหตุทื่ "แมลงเม่าบินเข้ากองไฟ" นั้น แท้จริงแล้วเป็นเพราะพวกมันพยายามใช้แสงจันทร์ในการนำทาง ดังที่เคยเขียนเอาไว้แล้ว[4] เป็นไปได้ว่าสัตว์น้ำอาจจะใช้วิธีเดียวกัน นอกจากนี้ เราทราบว่าเหล่าแพลงก์ตอนนั้นอาจจะถูกดึงดูดเข้าสู่แสงไฟ (แพลงก์ตอนส่วนหนึ่งก็เป็นผู้ผลิตที่สังเคราะห์แสง) และอาจจะล่อฝูงปลาขนาดเล็กตามมา ซึ่งล่อนักล่าลำดับถัดไปในห่วงโซ่อาหาร เช่น หมึก ให้ตามมาอีกทีหนึ่ง อย่างไรก็ตามเราไม่สามารถทราบเหตุผลที่แน่ชัดที่ดึงดูดหมึกมาได้ (เว้นแต่จะลองไปถามหมึกดูเอาเอง)
อย่างไรก็ตาม เราทราบว่าทั้งแพลงก์ตอนและหมึก ต่างก็ถูกล่อได้ด้วยทั้งแสงสีฟ้า และสีเขียว ไม่ต่างกัน ซึ่งถึงแม้ว่าเราจะใช้แสงสีอื่น เช่นแสงจากหลอดโซเดียมที่มีสีเหลือง เราก็จะพบว่าแสงเหล่านั้นก็จะยังสามารถกระตุ้นเซลล์รับแสงของเหล่าสัตว์ทะเลได้เช่นเดียวกัน และปัจจัยที่สำคัญที่สุดอยู่ที่ความสว่างเสียมากกว่าสเปกตรัมที่ใช้[5]
หรือว่าคำตอบอาจจะอยู่ในวิชาคณิตศาสตร์/เศรษฐศาสตร์? เป็นไปได้ไหมว่าหลอดไฟสีเขียวนั้นเป็นหลอดไฟที่มีค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด? ซึ่งก็ไม่ใช่อีกเช่นกัน เพราะว่าค่าไฟ หรือปริมาณพลังงานที่ใช้ไปในการปล่อยแสงไฟนั้น คิดเป็นส่วนที่น้อยมากเมื่อเทียบกับค่าน้ำมัน ค่าเรือ และค่าแรงที่ต้องใช้ไป
สุดท้าย คำตอบเพียงคำตอบเดียวที่อาจจะอธิบายแสงสีเขียวได้ดีที่สุด อาจจะอยู่ในวิชาสังคมศาสตร์ เราใช้แสงสีเขียว เพียงเพราะว่ามันเป็นแสงที่ "ฮิต" หรือได้รับความนิยมมากที่สุด เพียงเท่านั้นเอง และหากเราไปพิจารณาดูอุตสาหกรรมในการตกหมึกทั่วโลก เราก็จะพบว่าแต่ละประเทศนั้นมีสีที่ได้รับความนิยมที่แตกต่างกันออกไป
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_5207937
[2] https://earthobservatory.nasa.gov/…/fishing-in-green-living…
[3] https://www.aoml.noaa.gov/…/Cl…/St.%20Croix/salt_river11.pdf
[4] https://www.facebook.com/…/a.2551016080333…/580687202141490/
[5] https://en.wikipedia.org/wiki/Fishing_light_attractor
green wavelength 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最佳解答
แสงสีเขียวปริศนา เหนือน่านฟ้าไทย
เมื่อวานนี้ (28 ตุลาคม 2563) มีการแชร์ภาพจากพื้นที่ในจังหวัดระนอง ที่เห็นแสงสีเขียวแปลกประหลาดส่องสว่างขึ้นเหนือขอบฟ้าในทางทิศตะวันตก และตั้งข้อสงสัยว่าเป็นอะไรกันแน่
แสงสีเขียวนั้นเกิดขึ้นได้ค่อนข้างยากในธรรมชาติ สามารถเกิดขึ้นได้หากมีอุกกาบาตไฟร์บอลลูกใหญ่ๆ ที่มีโลหะนิกเกิลเป็นองค์ประกอบ จะสามารถส่องเป็นแสงสีเขียวได้ แต่ก็จะเกิดขึ้นเพียงเสี้ยววินาทีก่อนที่จะดับไป จึงไม่ใช่ อีกความเป็นไปได้หนึ่งก็คือแสงจากออโรร่า ที่เปล่งออกมาเป็นสีเขียว แต่ออโรร่านั้นไม่สามารถสังเกตเห็นได้จากแถบใกล้ศูนย์สูตรเช่นประเทศไทย ยกเว้นเสียแต่จะมีพายุสุริยะที่รุนแรงมาก ซึ่งก็จะต้องได้รับรายงานเห็นในที่ละติจูดที่สูงกว่าเช่นกัน รายนี้ก็ตกไปเช่นกัน
ความเป็นไปได้เดียวที่หลงเหลืออยู่ ก็คือแสงที่มนุษย์สร้าง ซึ่งหากพิจารณาจากว่าในริมชายฝั่งประเทศไทยมีการประกอบการประมงใช้ "เรือไดหมึก" ซึ่งปล่อยแสงสีเขียวสว่างจ้าไปทั่วท้องฟ้ากันเป็นประจำ คำอธิบายที่ชัดเจนและง่ายที่สุดก็คือแสงจากเรือไดหมึกนั่นเอง ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้กับภาพที่ผมถ่ายเอาไว้เองเมื่อปี 2014 (ภาพบนซ้าย) จะเห็นได้ว่าไม่ต่างอะไรกันมากนัก
อาจจะแค่บังเอิญว่าวันนั้นสภาพอากาศทำให้แสงเรือไดหมึกสะท้อนออกมามากที่สุดก็ได้ ก็เลยดูแปลกตา แตกตื่นกันเป็นพิเศษ แสงสีเขียวเดียวกันนี้เคยทำให้แตกตื่นกันไปถึงในอวกาศทีเดียว เพราะนักบินอวกาศที่ส่องลงมาจากสถานีอวกาศนานาชาติ ก็ต้องอึ้งกับแสงสีเขียวเหนือท้องทะเลไทยเช่นกัน (ภาพขวา)[2]
แต่สุดท้าย ทั้งหมดนี่ก็เป็นแค่แสงจากเรือไดหมึก ปริศนาไขกระจ่างแล้ว ปิดคดี จบข่าว แยกย้าย
(อัพเดต: ล่าสุดมีรายงานว่าแหล่งแสงที่มนุษย์สร้างอีกแหล่ง อาจจะมาจากประเทศเพื่อนบ้านครับ ซึ่งก็เป็นไปได้เช่นกัน และอาจจะทำให้เกิดแสงสว่างส่องไปบนเมฆได้อย่างที่เห็น แต่จะเก็บเนื้อหาเกี่ยวกับเรือไดหมึกเอาไว้เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน)
แต่มาถึงตรงนี้เราอาจจะถามอะไรกันต่อ ว่าแต่ว่า แล้วทำไมต้องสีเขียว??? แสงสีเขียวมีความพิเศษอย่างไร? อันนี้เป็นคำถามที่น่าสนใจ และไม่ได้ตอบกันง่ายๆ ต้องพิจารณากันหลายแง่มุม เป็นคำถามที่ส่งเสริม STEM ศึกษาอย่างแท้จริง
เราอาจจะเริ่มจากคำตอบในเชิงฟิสิกส์ แสงสีเขียวมีคุณสมบัติพิเศษอย่างไรหรือไม่กับน้ำทะเล? เป็นช่วงความยาวคลื่นพิเศษที่ส่องได้ดีหรือเปล่า? ปรากฏว่าแสงสีเขียวนั้นไม่ได้มีความพิเศษอะไร อยู่ตรงกลางๆ ของสเปกตรัม น้ำทะเลนั้นจะดูดกลืนแสงความยาวคลื่นมากได้ดีกว่า เป็นเหตุผลว่าทำไมน้ำทะเลจึงเป็นสีน้ำเงิน และเพราะเหตุใดสัตว์ใต้ท้องทะเลลึกจึงเป็นสีแดง เพราะแสงสีแดงนั้นไม่ตกถึงพื้นทะเลเลย ซึ่งถ้าพูดเช่นนั้นแล้วเราก็น่าจะอนุมานได้ว่าแสงสีน้ำเงินน่าจะส่องทะลุทะลวงได้ดีกว่า แล้วทำไมถึงไม่ใช้แสงสีน้ำเงิน??
ถัดไปเราอาจจะลองหาคำตอบเชิงชีววิทยาดูบ้าง เป็นไปได้ไหมที่แสงสีเขียวนี้เป็นแสงที่ตอบสนองได้ดีที่สุดในสัตว์จำพวกหมึก ว่าแต่ว่าทำไมไฟมันถึงล่อหมึกได้? มันจะพุ่งเข้ามาหาพระแสงอะไร?
ซึ่งคำตอบหลังนี้นั้นตอบได้ยากกว่ามาก ในงานวิจัยทีตีพิมพ์ในปี 1979 ได้ตั้งสมมติฐานการตอบสนองต่อแสงในสัตว์กลุ่ม Cephalopodd เอาไว้ 7 ประการด้วยกัน ได้แก่ 1) positive phototaxis 2) intensity preference
(brightness) 3) wavelength preference (color response) 4) conditioned or unconditioned response where light is associated with
food 5) curiosity6) photic disorientation and 7) hypnosis อย่างไรก็ตาม งานวิจัยดังกล่าวไม่สามารถยืนยันได้ว่าเพราะเหตุใดหมึกจึงพุ่งมาหาแสงไฟ
สำหรับแมลงบนบกนั้น เราพอจะทราบว่าสาเหตุทื่ "แมลงเม่าบินเข้ากองไฟ" นั้น แท้จริงแล้วเป็นเพราะพวกมันพยายามใช้แสงจันทร์ในการนำทาง ดังที่เคยเขียนเอาไว้แล้ว[4] เป็นไปได้ว่าสัตว์น้ำอาจจะใช้วิธีเดียวกัน นอกจากนี้ เราทราบว่าเหล่าแพลงก์ตอนนั้นอาจจะถูกดึงดูดเข้าสู่แสงไฟ (แพลงก์ตอนส่วนหนึ่งก็เป็นผู้ผลิตที่สังเคราะห์แสง) และอาจจะล่อฝูงปลาขนาดเล็กตามมา ซึ่งล่อนักล่าลำดับถัดไปในห่วงโซ่อาหาร เช่น หมึก ให้ตามมาอีกทีหนึ่ง อย่างไรก็ตามเราไม่สามารถทราบเหตุผลที่แน่ชัดที่ดึงดูดหมึกมาได้ (เว้นแต่จะลองไปถามหมึกดูเอาเอง)
อย่างไรก็ตาม เราทราบว่าทั้งแพลงก์ตอนและหมึก ต่างก็ถูกล่อได้ด้วยทั้งแสงสีฟ้า และสีเขียว ไม่ต่างกัน ซึ่งถึงแม้ว่าเราจะใช้แสงสีอื่น เช่นแสงจากหลอดโซเดียมที่มีสีเหลือง เราก็จะพบว่าแสงเหล่านั้นก็จะยังสามารถกระตุ้นเซลล์รับแสงของเหล่าสัตว์ทะเลได้เช่นเดียวกัน และปัจจัยที่สำคัญที่สุดอยู่ที่ความสว่างเสียมากกว่าสเปกตรัมที่ใช้[5]
หรือว่าคำตอบอาจจะอยู่ในวิชาคณิตศาสตร์/เศรษฐศาสตร์? เป็นไปได้ไหมว่าหลอดไฟสีเขียวนั้นเป็นหลอดไฟที่มีค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด? ซึ่งก็ไม่ใช่อีกเช่นกัน เพราะว่าค่าไฟ หรือปริมาณพลังงานที่ใช้ไปในการปล่อยแสงไฟนั้น คิดเป็นส่วนที่น้อยมากเมื่อเทียบกับค่าน้ำมัน ค่าเรือ และค่าแรงที่ต้องใช้ไป
สุดท้าย คำตอบเพียงคำตอบเดียวที่อาจจะอธิบายแสงสีเขียวได้ดีที่สุด อาจจะอยู่ในวิชาสังคมศาสตร์ เราใช้แสงสีเขียว เพียงเพราะว่ามันเป็นแสงที่ "ฮิต" หรือได้รับความนิยมมากที่สุด เพียงเท่านั้นเอง และหากเราไปพิจารณาดูอุตสาหกรรมในการตกหมึกทั่วโลก เราก็จะพบว่าแต่ละประเทศนั้นมีสีที่ได้รับความนิยมที่แตกต่างกันออกไป
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_5207937
[2] https://earthobservatory.nasa.gov/images/92152/fishing-in-green-living-in-yellow
[3] https://www.aoml.noaa.gov/general/lib/CREWS/Cleo/St.%20Croix/salt_river11.pdf
[4] https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/580687202141490/
[5] https://en.wikipedia.org/wiki/Fishing_light_attractor
green wavelength 在 陽光綠屋頂 Facebook 的最讚貼文
大家假期早安啊!大家有去過台北能源之丘嗎?這裡是認識太陽光電,以及老少咸宜的休閒好地方,歡迎大家在涼爽的秋天來這裡遊玩
#陽光屋頂百萬座 #太陽光電 #台北市 #能源之丘
【臺北能源之丘Taipei Energy Hill】
「臺北能源之丘」今日正式啟用!臺北能源之丘座落於福德坑環保復育園區,是全國第一座完工發電的掩埋場太陽能電廠。環保局不僅打造全國第一個集環境教育、生態環保的綠能環保示範園區,也用最實際的行動達成「自己的用電自己發」。
臺北市因地狹人稠、寸土寸金,難以大面積設置太陽光電系統,福德坑環保復育園區前身是垃圾掩埋場,腹地廣大,部分區域日照充足,加上園區沼氣發電多年,具有完善售電系統,有利電力輸出,經委請專業顧問機構評估,部分土地可發展太陽能光電,因此推動「臺北能源之丘」計畫,佔地約3公頃,裝置容量約2百萬瓦(MWp),估計年發電量最高達200萬度,每年可減少約1,000公噸二氧化碳排放量,相當於3座大安森林公園的吸碳量。
「臺北能源之丘」正式啟用後,也將會進ㄧ步規劃園區內環境教育、遊憩休閒的多元功能,可望成為北台灣的新景點。同時,我們也已經開始著手推動「臺北能源之丘」第二期,將針對位於南港山豬窟掩埋場的山水綠生態公園設置太陽光電進行可行性評估,初步推估設置容量約1百萬瓦(MWp),年平均發電量為100萬度。為持續推行太陽光電系統設置,市政府未來也會運用公私協力模式,陸續於公家機關、學校、公共住宅與民宅的屋頂建置太陽光電系統,積極打造臺北市成為宜居永續的「陽光首都」。
"Taipei Energy Hill" is the largest ground-mounted photovoltaic (PV) system in Northern Taiwan through public-private partnership. Combined with a nearby biogas plant, "Taipei Energy Hill" is also the first set of environmental education, ecological protection and renewable energy demonstration park in Taiwan. The system, with a total of 7,680 solar PV panels, generates up to 2 million kWh of electricity annually. It also reduces about 1,000 tons carbon dioxide emissions which are equivalent to the carbon absorption capacity of 3 Daan forest parks. The solar power is green energy that does not cause environmental pollution and global warming. It is generated by the PV panels that absorb a specific wavelength of sunlight and transform it into electricity. The process does not produce greenhouse gases, which helps to provide clean and pollution-free energy to the city.
影像│張妄影像 zangwang film
#臺北能源之丘 #太陽能光電 #陽光首都 #福德坑復育園區 #TaipeiEnergyHill #SolorCapital
green wavelength 在 孫燕姿Sun Yan-Zi - 綠光Green Light (official 官方完整版MV) 的必吃
... <看更多>