#葉郎每日讀報 #娛樂產業國際要聞揀3條
│金彩券得主是 Netflix!童書作者 Roald Dahl 的完整作品通通要變成 Netflix 的財產了│
• 2018年 《Charlie and the Chocolate Factory 巧克力冒險工廠》作者 Roald Dahl 的版權公司 The Roald Dahl Story Co. 才以3年合約期間授權16部作品給 Netflix 開發動畫節目,並被 Hollywood Reporter 稱作電視史上對親子節目金額最高的單一投資案(預計總製作費高達5到10億美元)。今天又被 Bloomberg 新聞提早爆料(因而乖乖發新聞稿承認)說 Netflix 已經同意買下整個 The Roald Dahl Story Co. 公司,成為 Roald Dahl 所有作品的出版版權和影視改編權的永久主人。
• 已經在1990年過世的 Roald Dahl ,如今所有的著作版權都在 The Roald Dahl Story Co. 名下,並由他的孫子 Luke Kelly 管理。根據 BBC 報導,該公司2019年營收高達2600萬英鎊(約3500萬美元)。相關63種語言版本賣出超過3億本書,平均2.6秒就賣出一本。 Luke Kelly 說該公司目前至少有19個電影、電視、舞台劇和展覽活動等計畫正在進行。
• Roald Dahl 是好萊塢的創意金礦。過去已經有 Tim Burton(《巧克力冒險工廠》、《James and the Giant Peach 飛天巨桃歷險記》)、Steven Spielberg(《The BFG 吹夢巨人》)和Wes Anderson(《Fantastic Mr. Fox 超級狐狸先生》)等導演把他的作品當成創作題材。去年底 Warner 也才剛剛推出由 Robert Zemeckis 導演、Anne Hathaway 主演的新片《The Witches 女巫們》。目前還在製作中的包括 Warner 已經預定由 Timothée Chalamet 扮演 Willy Wonka 的前傳電影《Wonka》之外,Taika Waititi 也在幫 Netflix 發展動畫版的《巧克力冒險工廠》,而向來與 Netflix 關係緊密的 Sony 製片部也為 Netflix 發展《Matilda 小魔女》的音樂劇電影。未來等其他外部授權合約到期之後,Netflix 顯然將不會再授權給任何競爭對手拍攝 Roald Dahl 的作品,並獨立發展自己的 Roald Dahl 宇宙。
• 包含上次的三年授權合約跟這次直接併購整家公司,雙方都未揭露交易數據。考量前一次授權就已經被稱作史上最高額親子節目投資,這次併購公司的手筆應該更為可觀。值得一提的是 Netflix 不像 Apple、Google 或 Facebook 等科技企業,他們絕少併購上下游企業,多半只是取得授權或是跟個別創作者簽訂優先合作協議。比如以3億美元簽下《Glee 歡樂合唱團》製作人 Ryan Murphy 的合作協議、以1.5億美元簽下《Grey’s Anatomy 實習醫生》製作人 Shonda Rhimes 等。相較之下,過去10年 Netflix 併購其他公司的數量甚至不到十例。然而 Amazon 連續以10億美元取得 JRR Tolkien 後代授權《Lord of the Rings 魔戒》的電視改編權,以及透過85億美元併購 MGM 而取得 007 和 Rocky 洛基等 IP,接連的權利變動可能讓版權庫還不夠久遠的 Netflix 備感壓力。
• 當然 Netflix 難得採取這麼大的併購動作,主要打擊對象還是 Disney+。過去一年多 Disney+ 仰賴 Marvel 和 Star Wars 等等(正好都是併購來的)著名 IP 將 Netflix 壓得喘不過氣來。相較之下 Netflix 發展相關衍生宇宙作品的努力除了電玩改編的《The Witcher 獵魔士》之外並沒有太顯著的成效。 Roald Dahl 的作品將會是 Netflix 繼《The Defenders 捍衛者聯盟》、《The Umbrella Academy 雨傘學院》 和《Jupiter's Legacy 朱比特傳奇》之後,再一次的 IP 宇宙賭注。
◇ 新聞來源:
Netflix Agrees to Buy ‘Matilda’ Author Roald Dahl Story Catalog(https://flip.it/dRq5Qm)
Netflix acquires works of Roald Dahl as it escalates streaming wars(https://flip.it/36fm4c)
───────────────
其他今天也可以知道一下的事:
│Netflix 執行長說只要能取得權利他們不排除進軍體育賽事內容│
◇ 新聞來源:Netflix CEO Suggests Streamer Would Consider Sports If They Could Control The Source(https://flip.it/WB.fEI)
│Comcast 放棄併購 Roku 而選擇推出自己的機上盒跟 Roku 競爭電視入口│
◇ 新聞來源:Comcast Launches First Streaming Device for Customers Worldwide, Ahead of Its Own TVs(https://flip.it/S2XqjE)
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過2,300的網紅Pei-Chuan Tsai,也在其Youtube影片中提到,胡瀞云臉書:https://www.facebook.com/pianistchingyun/ 胡瀞云網站:https://chingyunhu.com/ 蔡佩娟臉書:https://www.facebook.com/pchuan18/ 蔡佩娟網站:https://www.pianistpei.c...
academy bbc 在 IMDB看電影學英文 Facebook 的最佳貼文
#奧斯卡 (The Academy)#最佳紀錄片 My Octopus Teacher.
#我的章魚老師 一部令人感動的 #紀錄片
呈現了生命柔軟脆弱,同時卻又有擁著無比堅強生命力
我的章魚老師在 Netflix即可觀賞
其實還有許多刪減的片段,都收錄在 BBC 《#藍色星球2》第五集中
沒辦法出去玩的日子,跟著 Craig Foster去海底探險吧
保證比 #綠島潛水 還要令人讚嘆!
🌟大自然的奧秘🌟
She made me realize just how precious wild places are.
她使我認識到野生環境是多麼珍貴的。
What she taught me was to feel... that you're part of this place, not a visitor. That's a huge difference.
她教給我的是感覺……你是這個地方的一部分,而不是訪客。 這是一個巨大的差異。
A lot of people say an octopus is like an alien. But the strange thing is, as you get closer to them, you realize that we're very similar in a lot of ways.
很多人說章魚就像外星人。 但奇怪的是,當你靠近他們時,你會發現我們在很多方面都非常相似。
#章魚 #潛水
academy bbc 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最讚貼文
บิดาแห่ง Antivaxxers - นักวิจัยผู้บิดเบือนผลการทดลองวัคซีนเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง
โรคหัดเคยเป็นโรคหนึ่งที่คร่าชีวิตเด็กทั่วโลกไปกว่าปีละ 2.6 ล้านคน จนกระทั่งเริ่มมีการผลิตวัคซีน MMR หรือ หัด คางทูม หัดเยอรมัน ขึ้นมาในปี 1971 โดยใช้ไวรัสมีชีวิตจากไวรัสที่ทำให้ก่อโรคทั้งสาม ทำให้อ่อนกำลังลง ปัจจุบัน วัคซีน MMR นี้เป็นวัคซีนหลักที่กว่า 100 ประเทศทั่วโลกฉีดให้เด็กกว่า 100 ล้านคนทุกปี ส่งผลทำให้อัตราการเสียชีวิตลดลงเหลือเพียง 122,000 คน ในปี 2012 ซึ่งส่วนมากเกิดขึ้นในประเทศด้อยพัฒนา
แต่ในปี 1998 งานวิจัยที่นำโดย Andrew Wakefield ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสาร The Lancet พร้อมทั้งได้ออกแถลงข่าวผลงานวิจัย ที่ได้ศึกษาเด็ก 12 คนที่มีอาการของ autism และได้ตรวจพบอาการใหม่ในเด็ก 8 จาก 12 คน ที่เรียกว่า “autistic enterocolitis” ที่ทีมนักวิจัยอ้างว่าเกิดขึ้นจากการฉีดวัคซีน และมีความเชื่อมโยงระหว่างโรคในระบบทางเดินอาหารที่พบกับการพัฒนาการที่นำไปสู่โรคออทิซึ่ม ในการแถลงข่าวนี้ Wakefield จึงได้เรียกร้องให้มีการหยุดให้ MMR vaccine โดยสิ้นเชิง จนกว่าผลกระทบจะได้รับการศึกษาอย่างถี่ถ้วน และทดแทนด้วยการฉีดวัคซีนแยกชนิดกันแทน
ซึ่งผลของงานวิจัยนี้แน่นอนว่าสร้างความสะท้านไปทั่วโลก เนื่องจากวัคซีน MMR เป็นวัคซีนที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากไปแล้วในปัจจุบัน และการค้นพบความเชื่อมโยงของผลเสียของวัคซีนต่อพัฒนาการของเด็ก ที่นำไปสู่โรคออทิซึ่มนั่น แน่นอนว่าเป็นเรื่องที่ใหญ่มาก จึงได้รับความสนใจเป็นอย่างมากต่อสื่อทั่วโลก
แต่… ในเวลาที่ตามมา ความไม่ชอบมาพากลหลายๆ อย่างเกี่ยวกับ “งานวิจัย” นี้ ก็ค่อยๆ โผล่ขึ้นมาให้เห็น นักข่าว Brian Deer ได้ไปขุดพบเอกสารที่บ่งชี้ว่า Wakefield ได้มีการยื่นขอสิทธิบัตรในการทำวัคซีนแยกเข็มเดี่ยว ก่อนที่จะมีการทำงานวิจัยที่เรียกร้องให้มีการยกเลิกเข็มรวมไปแยกเป็นเข็มเดี่ยว รวมไปถึงแผนที่จะหากำไรจากการผลิตเครื่องตรวจออทิซึ่มที่อาจทำเงินได้ถึง $43 ล้านต่อปี มีการเปิดเผยให้เห็นว่าก่อนจะเกิดการทดลองนี้ขึ้น ผู้ปกครองของเด็กทั้ง 12 คนนี้กำลังติดต่อกับทนายความเพื่อที่จะดำเนินคดีต่อผู้ผลิตวัคซีน และได้มอบเงิน 55,000 ปอนด์แก่รพ. เพื่อทำงานวิจัยชิ้นนี้ นอกจากนี้ตัว Wakefield เองยังได้รับเงินกว่า 400,000 ปอนด์จากเหล่าทนายที่กำลังเตรียมคดีฟ้องผู้ผลิตวัคซีน MMR ซึ่งในกรณีนี้ในทางวิชาการนั้นจัดว่าเข้าข่าย “มีผลประโยชน์ทับซ้อน” (Conflict of Interest) ที่ Wakefield ไม่ได้แจ้งไว้แต่ในภายแรก
แม้ว่าจะไม่ถึงกับห้ามทำงานวิจัยเมื่อมีผลประโยชน์ทับซ้อนเสียทีเดียว แต่การไม่แจ้ง Conflict of Interest นั้นนับเป็น Research Misconduct ที่ค่อนข้างร้ายแรง แน่นอนว่าการมีผลประโยชน์ทับซ้อนนั้นส่งผลเป็นอย่างยิ่งต่อความเป็นกลางของผู้ทำการทดลอง ซึ่งหากผู้รีวิวได้รับรู้ถึง Conflict of Interest ล่วงหน้า และเป็นที่แน่ชัดว่าผู้ทำวิจัยนั้นได้รับผลประโยชน์บางอย่างหากผลงานวิจัยจะออกไปในทางใดทางหนึ่ง เจตนารมณ์และความเป็นกลางของผู้วิจัยย่อมจะต้องถูกนำมาตั้งคำถาม และตัวงานวิจัยจะต้องถูกพิจารณาอย่างถี่ถ้วนยิ่งขึ้น เช่นเดียวกัน ในโลกปัจจุบันผู้ผลิตวัคซีนแต่ละชนิดนั้นเป็นผู้ที่จะต้องทำงานวิจัยเพื่อยืนยันผลด้วยตัวเอง ซึ่งฝ่าย reviewer ก็จะคาดหวังมาตรฐานที่สูงกว่าเพื่อแสดงให้เห็นว่าในทุกขั้นตอนการวิจัยนั้นไม่ได้มีการ “ตุกติก” หรือแก้ผลเพื่อให้เป็นไปตามที่ต้องการ
สำหรับวารสาร Lancet นั้น ตัว editor-in-chief เองก็ได้ออกมาบอกในภายหลังว่า งานวิจัยของ Wakefield นั้นมีจุดบกพร่องเป็นอย่างมาก และหากเหล่า peer reviewer ได้แจ้งถึง Conflict of Interest อย่างชัดเจนแต่แรกแล้ว น่าจะไม่มีทางที่งานวิจัยนี้จะได้รับการรับรองแต่แรก
นอกไปจากนี้ Wakefield ได้ทำการเปิดแถลงข่าวต่อหน้าสื่อมวลชน ตั้งแต่ก่อนที่งานวิจัยจะได้รับการตีพิมพ์อย่างเป็นทางการ ซึ่งในทางการวิจัยแล้วจัดเป็น “Science by press conference” (การทำงานวิจัยผ่านการแถลงข่าว) ซึ่งขัดต่อหลักการงานวิจัยที่ควรจะเป็น นั่นคือนักวิจัยควรจะมีหน้าที่ได้รับการยอมรับและติติงและยืนยันผลจากนักวิจัยด้วยกันก่อนที่จะนำไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน เพราะงานวิจัยนั้นควรจะทำไปเพื่อหาความจริง ไม่ใช่เพื่อชื่อเสียง และเมื่อพิจารณาจาก Conflict of Interest ของ Wakefield ที่กล่าวเอาไว้ล่วงหน้าแล้วนั้นก็ยิ่งทำให้อดตั้งคำถามถึงแรงจูงใจที่แท้จริงของผู้วิจัยไม่ได้
แต่ที่สำคัญที่สุดก็คือ งานวิจัยที่ผู้อื่นพยายามทำต่อมาในเบื้องหลังนั้น ไม่ได้ค้นพบผลที่ยืนยันการค้นพบเดิมของ Wakefield แต่อย่างใด ในปี 2005 BBC ได้อ้างอิงถึงงานวิจัยหนึ่งที่ได้ทดลองตรวจเลือดเด็กที่มีอาการออทิซึ่ม 100 คน และ 200 คนที่ไม่มีอาการ และพบว่ากว่า 99% นั้นไม่ได้มีเชื้อโรคหัดเท่าๆ กันทั้งสองกลุ่ม Institute of Medicine (IOM), United States National Academy of Sciences, CDC, UK National Health Service ต่างก็ไม่พบความเชื่อมโยงใดๆ ทั้งสิ้นระหว่างโรคออทิซึ่มและ MMR ในประเทศญี่ปุ่นซึ่งมีการฉีดวัคซีนสามอย่างนี้แยกจากกัน ก็ไม่ได้พบว่ามีอัตราการเกิดออทิซึ่มแตกต่างจากประเทศอื่นที่ใช้ MMR รวมกันแต่อย่างใด นอกไปจากนี้ รีวิวต่างๆ ในวารสารงานวิจัยทางการแพทย์ก็ไม่เคยพบความเชื่อมโยงระหว่างวัคซีนกับออทิซึ่ม หรือแม้กระทั่งโรคระบบทางเดินอาหาร และก็ไม่เคยมีใครค้นพบ “autistic enterocolitis” ที่ Wakefield อ้างอิงถึงในงานวิจัยแต่อย่างใด
ผลสุดท้าย UK General Medical Council (แพทยสภาของอังกฤษ) ก็ได้เปิดการไต่สวน และได้ตัดสินว่า Andrew Wakefield ได้ทำความผิดร้ายแรง ฐานไม่สุจริต 4 กระทง ใช้ประโยชน์จากเด็กที่มีพัฒนาการต่ำ 12 กระทง ทำการทดลองที่ไม่จำเป็นและไร้ความรับผิดชอบต่อเด็กในการทดลอง การทดลองไม่ได้ผ่านบอร์ดคณะกรรมการจริยธรรม และไม่ยอมเปิดเผยถึงผลประโยชน์ทับซ้อน และ GMC ได้ระบุว่า Wakefield นั้น “ล้มเหลวโดยสิ้นเชิงต่อความรับผิดชอบในหน้าที่ของแพทย์ผู้ให้คำปรึกษา” จึงได้ถอด Andrew Wakefield ออกจากทะเบียนแพทย์ และยึดใบประกอบโรคศิลป์ในประเทศอังกฤษ
ส่วนตัววารสาร Lancet เองก็ได้ยื่น full retraction ถอดถอนงานวิจัยนี้ออกไป โดยตัว co author 10 จาก 12 คนในงานวิจัยนี้ก็ได้ออกมายื่นขอ retract เช่นเดียวกัน โดยกล่าวว่าแม้การค้นพบจะตั้งคำถามที่น่าสนใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของวัคซีน แต่ตัวงานวิจัยนั้นไม่สามารถยืนยันถึงความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยทั้งสองได้แต่อย่างใด
แต่แม้ว่างานวิจัยจะถูกถอดถอน ผู้ทำวิจัยจะถูกปลดจากวิชาชีพไปแล้ว แต่ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากงานวิจัยลวงโลกนี้ก็ได้เกิดขึ้นไปแล้ว มีการประเมินว่างานวิจัยที่ตีพิมพ์โดย Lancet นี้ อาจจะเป็น “ข่าวลวงโลกที่ร้ายแรงที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20” เพราะนับแต่นั้นมา ทั้งในอังกฤษและไอร์แลนด์ต่างก็พบว่ามีผู้ปกครองที่ปฏิเสธวัคซีนเพิ่มมากขึ้น จนโรคหัดและคางทูมเริ่มกลับมาระบาดอีกครั้งหนึ่งในหมู่ผู้ที่ปฏิเสธวัคซีน และกระแส Anti-vaccine หรือที่เราเรียกกันว่า “Antivaxxers” ก็เริ่มจุดติดนับแต่นั้นเป็นต้นมา และหนึ่งในข้อกล่าวอ้างของผู้ที่ปฏิเสธวัคซีนที่แพร่หลายมากที่สุดก็คือ “วัคซีนทำให้เกิดโรคออทิซึ่ม” ซึ่งก็เริ่มต้นมาจากงานวิจัยลวงโลกของ Andrew Wakefield นี้นั่นเอง จนในทุกวันนี้ ชาวอเมริกันจำนวนมากที่สามารถเข้าถึงวัคซีน mRNA ใหม่ที่ป้องกันโควิด-19 กลับปฏิเสธที่จะรับวัคซีนฟรีจากความกลัววัคซีน ที่ Andrew Wakefield เป็นผู้ก่อ
ส่วนเจ้าตัวก่อเรื่องเองนั้น… แน่นอนว่าเขาก็ยังคงปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยยังยืนยันผลเดิมว่าวัคซีนทำให้เกิดโรคออทิซึ่ม และเขาเองนั้นไม่ได้มีผลประโยชน์ทับซ้อนใดๆ ทั้งสิ้น แต่เขาต้องเป็นจำเลยของสังคม เขามีปากเสียงกับ Brian Deer นักข่าวผู้เปิดโปงและแฉเขาอยู่บ่อยๆ ซึ่ง Deer ก็ได้ออกมาตอบโต้ว่า “ถ้าคิดว่าไม่จริงก็ฟ้องมาสิ มาพิสูจน์กันเลย แล้วถ้าผมโกหกคุณก็จะกลายเป็นคนที่รวยที่สุดในอเมริกา” ซึ่งที่ผ่านมา Wakefield ก็ได้ถอนการฟ้องร้องคดีหมิ่นประมาทไปทุกกรณี และ Brian Deer ก็ได้รับรางวัลเป็น UK's specialist journalist of the year ใน the British Press Awards จากกรณีเปิดโปง Wakefield นี้
ปัจจุบัน Andrew Wakefield ได้ย้ายไปอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากเหล่าสาวก Antivaxxer อยู่จนถึงทุกวันนี้ เป็นหนึ่งในแกนนำที่คอยเรียกร้องต่อต้านกม. ที่จะบังคับให้คนฉีดวัคซีนอยู่เสมอ รวมไปถึงเป็นผู้กำกับภาพยนต์สารคดีลวงโลกเรื่อง Vaxxed: From Cover-Up to Catastrophe และเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ที่ได้รับจากความโด่งดังอันเกิดจากงานวิจัยลวงโลกเช่นนี้อยู่ต่อไป
หมายเหตุ: ปัจจุบันไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ใดๆ ทั้งสิ้น ที่สามารถเชื่อมโยงการเกิดโรคออทิซึ่ม กับการฉีดวัคซีน
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://en.wikipedia.org/wiki/MMR_vaccine
[2] https://en.wikipedia.org/wiki/Lancet_MMR_autism_fraud
[3] https://en.wikipedia.org/wiki/Andrew_Wakefield
academy bbc 在 Pei-Chuan Tsai Youtube 的最佳解答
胡瀞云臉書:https://www.facebook.com/pianistchingyun/
胡瀞云網站:https://chingyunhu.com/
蔡佩娟臉書:https://www.facebook.com/pchuan18/
蔡佩娟網站:https://www.pianistpei.com/
大賽獲獎,一個年輕演奏者的里程碑,大賽之後,演奏生涯與藝術家身分才剛開始。
「那時希望盡快拿到最大的經紀合約,跟最好的樂團、最大的廳,是從外在的東西去尋找。從外在找的時候,它會影響到你的藝術,你的想法就不是在音樂上;如果是尋找藝術的話,你會一直往裡頭去找,當往裡頭找,它就無限量。」
「從小就很喜歡計畫,策畫東西,那時我寫了十個program,想像這十套program在一年內要怎麼做」
「我只收六個學生,也就是受Babayan影響,他的班很難進,一個出去一個才進得來,而且他不喜歡人家叫他professor, because he is a pianist」
「要培養一個學生,必須花很大量的時間,每一個學生有他自己的個性,需要花時間去了解他需要什麼。18-22歲四年可以做so much,研究所兩年一下就過去了,當他們來時有各式各樣的問題,但卻要在兩年內要解決他的問題,還要解決他接下來要做什麼」
「兩年還是很有必要,還是有可能改變整個人生」
「讓你獨立就是最好的人生禮物,家長不要太寵小孩,給了他越多,就讓他無法獨立,讓他自己多做一點」
「分享,就有改變的可能,永遠不知道,可能下面坐了一個小孩,或許就改變了他」
【科譜小學堂:音樂節】
一般來說,音樂節分兩種,一種是單純每天充滿各種形式的音樂會,通常充滿當代一線音樂家去演出,像是有名的BBC Proms(逍遙音樂節,倫敦)、Verbier Festival(瑞士)、萊比錫巴哈音樂節Bachfest Leipzig等;另一種是鼓勵學生去參加的,屬於音樂營的形式,內容涵蓋個別課、大師班、室內樂、大師音樂會、學生音樂會。
【Key words】
Daniil #Trifonov
Sergei #Babayan
#鄧泰山
#PYPA (Philadelphia Young Pianists’ Academy 費城青年鋼琴家音樂節) https://pypa.info/
Gilmore keyboard Festival https://www.thegilmore.org/
Opus 3 https://www.opus3artists.com/
#鋼琴家 #胡瀞云 #音樂家 #演奏家
♦️「#鋼琴老師沒告訴你的24件事-學音樂,追求什麼」:
博客來/ https://reurl.cc/pvLn4
金石堂/https://reurl.cc/lyvkl
誠品書店/https://reurl.cc/myZWY
academy bbc 在 BBC Academy - Facebook 的必吃
BBC Academy. 22469 likes · 18 talking about this. Training the media industry today, upskilling it for tomorrow. ... <看更多>