รู้จัก Tim Hortons ร้านกาแฟชื่อดัง จากประเทศแคนาดา /โดย ลงทุนแมน
ถ้าถามว่า ร้านกาแฟอะไร ที่คนไทยพบเห็นกันบ่อยๆ
หลายคนคงนึกถึง Café Amazon หรือ Starbucks
แต่ถ้าไปถามคำถามเดียวกันนี้กับคนในแคนาดา
คำตอบที่ได้คงไม่ใช่ 2 ชื่อนี้
เพราะร้านกาแฟที่พบเห็นได้มากที่สุดในแคนาดา
คือร้านที่มีชื่อว่า “Tim Hortons”
และหลายคนอาจยังไม่รู้ว่า
Tim Hortons ก็มีสาขาในไทยแล้ว
แบรนด์นี้มีเรื่องราวอะไรน่าสนใจ
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
สัมผัสเทคโนโลยีรูปแบบใหม่จากสตาร์ตอัปไทย Blockdit
Blockdit เป็นแพลตฟอร์มของแหล่งรวมนักคิด
ที่ช่วยอัปเดตสถานการณ์ ในรูปแบบบทความ วิดีโอ
รวมไปถึงพอดแคสต์ ที่มีให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
ลองใช้กันที่ Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ย้อนกลับไปเมื่อ 56 ปีที่แล้ว
ในปี 1964 นักกีฬาฮอกกี้สองคนในแคนาดา
ได้ร่วมทุนกันเปิดร้านขายกาแฟและโดนัท
โดยสองคนนี้มีชื่อว่า Tim Horton และ Jim Charade
ร้านโดนัทเล็กๆ นี้ ถูกตั้งชื่อว่า “Tim Hortons” ตามชื่อของ Tim Horton
โดยร้านตั้งอยู่ในเมือง Hamilton รัฐ Ontario ประเทศแคนาดา
หลังจากเปิดร้านไปได้ 3 ปี
Ron Joyce อดีตตำรวจในเมือง Hamilton
ได้เข้ามาขอซื้อสิทธิ์แฟรนไชส์จาก Tim Horton
ต่อมา Tim Horton และ Ron Joyce ได้ตกลงเป็นพาร์ตเนอร์ทางธุรกิจกันในปี 1967
และขยายร้าน Tim Hortons จนมี 40 สาขา ภายใน 7 ปี
กระทั่งในปี 1974 Tim Horton ประสบอุบัติเหตุและจากไปอย่างกะทันหัน
Ron Joyce จึงขอซื้อหุ้นของกิจการต่อจากครอบครัวของ Tim เป็นเงิน 30 ล้านบาท
และเริ่มเดินหน้าขยายธุรกิจต่อไปด้วยตัวเอง
โดยสิ่งที่ทำให้ร้าน Tim Hortons เป็นที่รู้จักมากขึ้น
คือ “Timbits” โดนัทก้อนกลมขนาดเล็ก เคลือบด้วยความหวานจากทอปปิงต่างๆ
ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในแคนาดา
นอกจาก Timbits ที่เป็นที่นิยมแล้ว
ยังมีอีกหลายเมนูที่น่าสนใจ เช่น
“Double Double” กาแฟอะราบีกา สูตรน้ำตาล 2 ส่วน ครีม 2 ส่วน
ครัวซองต์ มัฟฟิน และโดนัทรสชาติต่างๆ
พอเป็นที่นิยมแบบนี้ Tim Hortons จึงขยายสาขาไปทั่วแคนาดาได้อย่างรวดเร็ว
จนมี 500 สาขาในแคนาดา ภายในปี 1991
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกิดขึ้นในปี 2014
เมื่อ Tim Hortons ถูกควบมาบริหารรวมกันกับ Burger King
ซึ่งบริษัทแม่ที่ดูแลทั้งสองแบรนด์ คือ Restaurant Brands International หรือ RBI
ภายใต้การบริหารของ RBI
Tim Hortons ยังคงขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง
ปี 2018
Starbucks มีสาขาในแคนาดาประมาณ 1,518 สาขา
Tim Hortons มีสาขาในแคนาดาประมาณ 4,300 สาขา
และถ้าเทียบกับเชนร้านอาหารอื่นในแคนาดา
ที่ให้บริการแบบ Quick Service Restaurant (QSR)
Tim Hortons มีประมาณ 4,300 สาขา
Subway มีประมาณ 3,182 สาขา
Starbucks มีประมาณ 1,518 สาขา
McDonald’s มีประมาณ 1,472 สาขา
ในปี 2019 Tim Hortons มีทั้งหมด 4,932 สาขาทั่วโลก
มียอดขายรวม 211,554 ล้านบาท
คิดเป็นรายได้เฉลี่ย 43 ล้านบาท ต่อสาขาในหนึ่งปี
ทีนี้มาดูที่ไทยกันบ้าง..
ผู้ที่ได้สิทธิ์นำ Tim Hortons เข้ามาในไทย
คือ “บริษัท วีอีท จำกัด”
โดยเปิดสาขาแรกที่สามย่านมิตรทาวน์เมื่อเดือนมกราคม ปี 2020 ที่ผ่านมา
และถึงตอนนี้ Tim Hortons มีสาขาในไทยทั้งหมด 7 สาขา
แม้ว่า Tim Hortons จะยังคงเป็นร้านกาแฟน้องใหม่
ที่เพิ่งเข้ามาในไทยได้ไม่ถึงปี และยังมีสาขาน้อยมาก
เมื่อเทียบกับ Café Amazon และ Starbucks ในไทย
แต่ด้วยชื่อเสียง และความแข็งแกร่งของแบรนด์
ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นเชนร้านกาแฟ และขนมหวาน ที่ใหญ่ที่สุดในแคนาดา
ก็ต้องบอกว่า Tim Hortons
อาจเป็นอีกหนึ่งแบรนด์ ที่ผู้นำตลาดต้องหันมามอง..
╔═══════════╗
สัมผัสเทคโนโลยีรูปแบบใหม่จากสตาร์ตอัปไทย Blockdit
Blockdit เป็นแพลตฟอร์มของแหล่งรวมนักคิด
ที่ช่วยอัปเดตสถานการณ์ ในรูปแบบบทความ วิดีโอ
รวมไปถึงพอดแคสต์ ที่มีให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
ลองใช้กันที่ Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-RESTAURANT BRANDS INTERNATIONAL INC. 2019 FORM 10-K ANNUAL REPORT
-https://timhortons.co.th/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Tim_Hortons
-https://www.bkkmenu.com/eat/news/tim-hortons-thailand-opening-at-samyan-mitrtown.html
-https://www.statista.com/statistics/439666/number-of-units-restaurant-chains-canada/
10-k report 在 貓的成長美股異想世界 Facebook 的最讚貼文
我如何寫分析文?
之前有讀者問我是怎麼寫分析文的(抱歉現在才回覆), 還問了其他的問題(抱歉我找不到那篇貼文了, 也忘了其他的問題是甚麼……如果您在看的話, 歡迎再提問, 我可以再回答).
其實, 我寫分析文的功力還有進步的空間; 我的分析文這幾年有長進, 也是受到不少股友跟前輩的調教(謝謝你們👏). 下面是我的方法. 寫出來, 也算拋磚引玉, 歡迎其他高手同好也來分享您寫分析文的技巧與撇步~
首先, 是資料收集. 我的順序為:
1. 年報(annual report, or 10-K)
美國公司年報中的資訊很多, 所以我寫分析文, 第一個看的資訊就是年報. 尤其是Item 1 and 7, 是必看的. 而Item 7(management's discussion and analysis)的重要性比Item 1還高, 因為會提到公司前一年的營運狀況.
2. 季報結果(earnings transcript)
因為年報中的資訊未必是最新的, 所以看完年報後, 我會上seekingalpha.com上看公司最近期(一兩季)的季報結果, 看看公司最近的營運狀況 (對於一家中小型公司, 我也曾經看過它從IPO以來的所有季報(共8季?), 因為是中小企業, 所以多看可以求心安🤣)
3. 新聞
可以從新聞知道公司最近的動態, 以及公司的競爭對手是誰.
4. Seeking Alpha上的分析文
這部分倒是optional(未必會看). Again, 看了很多時候也是求心安.
5. 劵商報告
劵商報告品質參差不齊. 我看過最好的, 非大摩小摩那種劵商等級的分析, 是Morningstar的.
註: 先自己看公司的年報跟新聞, 再看其他人的分析, 有助於訓練我的判斷能力.
6. 公司的Investor Relations
如果還有不懂的地方, 我會直接寫信去問公司的投資人關係部門. 通常小公司的回覆都很快.
通常寫一篇全套的分析文, 下面這幾部分我都會寫進:
1. 產業分析
如果對一個產業不熟, 做產業分析可以知道產業現況, 趨勢, TAM(total addressable market), 還知道主要players有誰. 我會到產業工會這類的網站上找資料, 或是用google找.
2. 公司介紹
(1)基本資料
(2)商業模式(因為公司賣甚麼其實很好被複製; 怎麼賣才是重點)
(3)策略分析(護城河, SWOT這類的)
(4) 財務分析
以上就是我寫分析文的步驟. 希望這樣有幫助😊.
(北美秋天的代表色是金黃, 橘. 代表的花朵是菊花. 附上一張秋菊的照片. Have a nice weekend.)
10-k report 在 貓的成長美股異想世界 Facebook 的最佳貼文
我如何寫分析文?
之前有讀者問我是怎麼寫分析文的(抱歉現在才回覆), 還問了其他的問題(抱歉我找不到那篇貼文了, 也忘了其他的問題是甚麼……如果您在看的話, 歡迎再提問, 我可以再回答).
其實, 我寫分析文的功力還有進步的空間; 我的分析文這幾年有長進, 也是受到不少股友跟前輩的調教(謝謝你們👏). 下面是我的方法. 寫出來, 也算拋磚引玉, 歡迎其他高手同好也來分享您寫分析文的技巧與撇步~
首先, 是資料收集. 我的順序為:
1. 年報(annual report, or 10-K)
美國公司年報中的資訊很多, 所以我寫分析文, 第一個看的資訊就是年報. 尤其是Item 1 and 7, 是必看的. 而Item 7(management's discussion and analysis)的重要性比Item 1還高, 因為會提到公司前一年的營運狀況.
2. 季報結果(earnings transcript)
因為年報中的資訊未必是最新的, 所以看完年報後, 我會上seekingalpha.com上看公司最近期(一兩季)的季報結果, 看看公司最近的營運狀況 (對於一家中小型公司, 我也曾經看過它從IPO以來的所有季報(共8季?), 因為是中小企業, 所以多看可以求心安🤣)
3. 新聞
可以從新聞知道公司最近的動態, 以及公司的競爭對手是誰.
4. Seeking Alpha上的分析文
這部分倒是optional(未必會看). Again, 看了很多時候也是求心安.
5. 劵商報告
劵商報告品質參差不齊. 我看過最好的, 非大摩小摩那種劵商等級的分析, 是Morningstar的.
註: 先自己看公司的年報跟新聞, 再看其他人的分析, 有助於訓練我的判斷能力.
6. 公司的Investor Relations
如果還有不懂的地方, 我會直接寫信去問公司的投資人關係部門. 通常小公司的回覆都很快.
通常寫一篇全套的分析文, 下面這幾部分我都會寫進:
1. 產業分析
如果對一個產業不熟, 做產業分析可以知道產業現況, 趨勢, TAM(total addressable market), 還知道主要players有誰. 我會到產業工會這類的網站上找資料, 或是用google找.
2. 公司介紹
(1)基本資料
(2)商業模式(因為公司賣甚麼其實很好被複製; 怎麼賣才是重點)
(3)策略分析(護城河, SWOT這類的)
(4) 財務分析
以上就是我寫分析文的步驟. 希望這樣有幫助😊.
(北美秋天的代表色是金黃, 橘. 代表的花朵是菊花. 附上一張秋菊的照片. Have a nice weekend.)
10-k report 在 Financial results - SEC filings 的必吃
SEC filings. Investor overview · Press releases · Events and presentations · Financial results · Quarterly results · Annual report & proxy · SEC filings. ... <看更多>