มาทำความเข้าใจ "ทฤษฎีวิวัฒนาการ ผ่านการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ของชาร์ล ดาร์วิน" กันให้ถูกต้องครับ
ตอนนี้มีประเด็นดราม่ากันเกิดขึ้น เนื่องจากมีคนพูดทำนองว่า "ในสถานการณ์วิกฤตโรคโรคโควิด-19 ระบาดนี้ ใครลำบาก มันก็เป็นเรื่องที่ต้องช่วยตัวเอง ตายได้ตายไปเลย ธรรมชาติจะคัดสรรผู้ที่อยู่รอดสำหรับประเทศกำลังพัฒนา ตามทฤษฎีชาร์ล ดาร์วิน" ?!
จริงๆ แล้ว ลักษณะประโยคอย่างที่พูดมานั้น ไม่ได้ตรงตามทฤษฎีวิวัฒนาการของชาร์ล ดาร์วิน แต่เป็นแนวคิดที่เรียกว่า Social Darwinism ซึ่งเกิดขึ้นในยุคทศวรรษที่ 1870s อ้างว่าเป็นการเอาหลักชีววิทยาของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) และการอยู่รอดของผู้ที่ปรับตัวได้ดีกว่า (survival of the fittest) มาประยุกต์ใช้กับเรื่องรัฐศาสตร์สังคมวิทยา
ผู้ที่นิยมแนวคิดนี้ เชื่อว่า ผู้ที่แข็งแรงกว่า ก็ควรจะมีอำนาจและทรัพย์สมบัติเพิ่มขึ้น ส่วนผู้ที่อ่อนแอกว่า ก็ควรจะมีอำนาจและทรัพย์สมบัติลดลง .. แนวคิด Social Darwinism ได้ถูกเอาไปอ้างกันมากในหลายๆ กลุ่มเพื่อสนับสนุนความเชื่อของกลุ่มตน ไม่ว่าจะเป็นพวกทุนนิยม พวกยูเจนิกส์ (eugenics) พวกเหยียดเชื้อชาติ พวกจักรวรรดินิยม พวกฟาสซิสต์ พวกนาซี หรือแม้แต่เวลาที่มีการขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติและกลุ่มชน
แต่ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วินนั้น ดาร์วินตั้งใจจะใช้เพื่ออธิบายความหลากหลาย และการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ ไม่ได้มีเจตนาที่มุ่งไปที่การต่อสู้กันของสังคมมนุษย์ อย่างที่เอาไปอ้างกัน
ยิ่งกว่านั้น ดาร์วินไม่ได้นิยามคำว่า สิ่งมีชีวิตตัวที่ "fittest" นั้น ว่าคือตัวที่แข็งแรงที่สุด หรือฉลาดที่สุด แต่เป็นตัวที่เข้าได้กับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด และได้ขยายไปถึงตัวที่ทำงานร่วมมือกับตัวอื่นได้ ในกรณีของสัตว์สังคมหลายๆ ชนิด ตามหลักที่ว่า "struggle is replaced by co-operation" การแก่งแย่งดิ้นรน จะถูกแทนที่ด้วยการร่วมมือกัน !!
ดาร์วินได้เคยคาดการณ์ไว้แล้วว่า คำว่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ที่เขากำลังนำเสนอแก่วงการวิทยาศาสตร์นั้น อาจจะสูญเสียความหมายที่ถูกต้องของมันไป ถ้าถูกเอาไปใช้ในมุมที่แคบๆ ว่าคือการดิ้นรนต่อสู้ระหว่างสิ่งมีชีวิตแต่ละตัว เพียงเพราะตั้งใจจะให้ตัวเองอยู่รอด
ดาร์วินเขียนไว้ในหน้าแรกๆ ของหนังสือ "Origin of Species กำเนิดสปีชีส์" อันโด่งดังของเขา ระบุถึงความหมายของคำดังกล่าวว่า "เป็นสำนึกในมุมกว้างและอุปมาอุปไมย ที่จะครอบคลุมถึงการที่สิ่งมีชีวิตตัวหนึ่งจะพึ่งพากับอีกตัวหนึ่ง และสำคัญยิ่งไปกว่านั้นก็คือ จะครอบคลุม ไม่ใช่เฉพาะการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตตัวนั้น แต่รวมถึงความสำเร็จในการที่จะมีลูกหลานสืบต่อไปด้วย" [จาก Origin of Species, บทที่ 3 หน้าที่ 62 ฉบับที่ตีพิมพ์ครั้งที่ 1]
ในหนังสืออีกเล่มหนึ่งตามมาของชาลส์ ดาร์วิน คือ The Descent of Man ดาร์วินได้เขียนเน้นหนักหลายหน้า เพื่อแสดงให้เห็นถึงมุมมองที่กว้างขึ้นและถูกต้องของการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ดาร์วินชี้ให้เห็นว่า ในสังคมของสัตว์สารพัดชนิด เรากลับไม่พบการดิ้นรนแก่งแย่งกันเองของสัตว์แต่ละตัว แต่กลับถูกแทนที่ด้วยการทำงานร่วมกัน และพัฒนาไปสู่ศักยภาพด้านสติปัญญาและจริยธรรม ที่ช่วยให้สัตว์สปีชีส์นั้นอยู่ในสภาวะที่ดีที่สุดที่จะอยู่รอดได้
ดาร์วินอธิบายว่า ในกรณีดังกล่าวนั้น คำว่า fittest ไม่ได้หมายถึง ตัวที่แข็งแรงที่สุดทางกายภาพ แต่หมายถึงตัวที่เรียนรู้ที่จะรวมตัวพึ่งพากัน เพื่อช่วยสนับสนุนซึ่งกันและกัน ทั้งตัวที่แข็งแรงและตัวที่อ่อนแอ เพื่อประโยชน์สุขของทั้งสังคม
ดาร์วินเขียนว่า " สังคม ซึ่งมีสมาชิกที่เห็นอกเห็นใจกัน เป็นจำนวนมากที่สุด จะเติบโตรุ่งเรืองที่สุด และจะมีลูกหลานเป็นจำนวนมากที่สุดด้วย" (จากฉบับตีพิมพ์ครั้งที่ 2 หน้า 163)
ดังนั้น คำว่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ซึ่งแรกเริ่มจากมุมมองแคบๆ ของการต่อสู้แข่งขันกันตามแนวคิดของ มัลธัส (Malthus นักเศรษฐศาสตร์ในยุคของดาร์วิน) ได้สูญเสียความแคบนั้นไป เมื่ออยู่ในจิตใจของคนที่เข้าใจธรรมชาติอย่างแท้จริง
(สรุปง่ายๆ ว่า อย่าเอาแนวคิดการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ของชาร์ล ดาร์วิน มาอ้างกันมั่วๆ เพื่อปฏิเสธเรื่องที่คนเราควรจะช่วยเหลือกันในสังคม )
ข้อมูลจาก https://en.m.wikipedia.org/wiki/Social_Darwinism
ภาพประกอบจาก https://m.facebook.com/thaihotnewz/photos/a.1622485398020612/2634697253466083/?type=3
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過76萬的網紅memehongkong,也在其Youtube影片中提到,昨晚我講了一個話題,但沒有詳細解說,這是很好笑的話題。很多大陸憤青、領導人,甚至一些香港人,都仍然活動二十世紀初期,停留在1900年代的思維中。這思維包括甚麼?直至一次世界大戰的時候,他們認為世界歷史是民族與民族之間你死我活的鬥爭,只要夠惡,用武力就可以搶走別人的東西。那不是你死就是我亡,不夠別人強...
「social darwinism」的推薦目錄:
- 關於social darwinism 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳解答
- 關於social darwinism 在 一個分析師的閱讀時間 Facebook 的最佳貼文
- 關於social darwinism 在 memehongkong Youtube 的精選貼文
- 關於social darwinism 在 memehongkong Youtube 的最佳貼文
- 關於social darwinism 在 What is Social Darwinism? From Natural Selection ... - YouTube 的評價
social darwinism 在 一個分析師的閱讀時間 Facebook 的最佳貼文
大家晚安。
聖誕節、情人節以及萬聖節,這些西方的傳統節日在台灣已然生根,甚至已經翻轉超越意義相近的農曆新年、七夕以及中元節;在剩餘的重要傳統節日中,中秋節氣氛仍濃烈,但端午節早已沒落。我們消費著西方文化不斷重新包裝的故事,所有的信仰都只是物質主義的殘渣,毫無超越性的精神文化可言。這很可悲嗎?倒也不。文化就是人類的生活方式,完全是一種選擇後的結果;我雖然厭惡社會達爾文主義(Social Darwinism)談的文化優勝劣敗觀點,但也不能否認,存活者就是贏家。雖然台灣向來以廣納百川、接收式的海洋文化自豪,但如果台灣只是不斷自我餵食各種好玩的新花樣,卻無法沉潛靜思、賦予這些文化全新樣貌,台灣早晚會面臨比現在更嚴重的自我認同問題。希望你喜歡這篇文章。
http://readandanalyse.blogspot.tw/2014/11/blog-post_4.html
social darwinism 在 memehongkong Youtube 的精選貼文
昨晚我講了一個話題,但沒有詳細解說,這是很好笑的話題。很多大陸憤青、領導人,甚至一些香港人,都仍然活動二十世紀初期,停留在1900年代的思維中。這思維包括甚麼?直至一次世界大戰的時候,他們認為世界歷史是民族與民族之間你死我活的鬥爭,只要夠惡,用武力就可以搶走別人的東西。那不是你死就是我亡,不夠別人強,你的民族就會滅亡,所以你要搶地方搶資源。這是德國東向的一個原因,希特拉的戰略思想就是這樣,他覺得一定要打俄羅斯,目的是想控制整個東歐來作為日耳曼民族生存的資本和滅絕猶太人。這些思想是完全錯誤。為何呢?第一,因為這世界沒有種族鬥爭。其實種族是一種接近不存在的東西,因為大家已混到血統很親近。國家當然有,但不是漢族和蒙古族鬥爭,結果漢族滅了蒙古族的那種,那並沒有這種事。第二,所有國家與國家之間,人與人之間,民族與民族之間,那關係不是零和的,其實即是雙贏的。舉一個簡單的例子,北京中國改革開放以來,富有了很多倍,這也令美國也富有了很多倍。如果不是中國的崛起,美國的經濟也會弱很多。大家可以看到很多中國的產品在美國賣,而美國的技術也流向中國。經濟的東西永遠是雙贏的,並不是希望別人受害。如果中國經濟大蕭條,美國GDP也會跌10%左右。所以用零和遊戲思維去看世界,基本是錯誤的。
另外,國際社會絕對不是Jungle law,不是你惡就可以搶佔人的土地資源,現在沒有這一回事。自從二次大戰以來,最大的戰爭是越戰和韓戰,都是冷戰的延續。越戰之後四十多年,最大的戰爭其實1990打伊拉克,全世界一齊去打伊拉克,都是打了一兩個星期,傷亡比起一二次世界大戰都是少很多。一次大戰傷亡是800萬至1000萬,而二次大戰傷亡是5000萬至6000萬人。但打伊拉克只死幾十萬人,都是伊拉克人。而聯軍只死一萬幾千。以前的戰爭角度來講,根本不算是甚麼戰爭,只算是小型磨擦。整個世界基本上是和平的,小國全部能夠生存而且繁榮,甚至可以排在世界文明首位。最有錢文明的地方都是北歐那些小國。在東南亞最有錢的是新加坡,馬來西亞和印尼也沒有打倒新加坡。
我們這是一個文明的世界,要發達不是靠搶人的土地和資源,而是靠做生意的。搶人土地和資源,要管理當地人,又要駐軍,那是需要付出極大的代價。但是有些人是不理,繼續活在自己的野蠻世界之中,因為他們喜歡這個野蠻的世界。這是social Darwinism,把弱肉強食放在民族主義中,那是完全錯誤。
即時聊天室:http://goo.gl/ToDqof
謎米香港 www.memehk.com
Facebook:www.facebook.com/memehkdotcom

social darwinism 在 memehongkong Youtube 的最佳貼文
我再補充一下我昨晚講關於社會救濟的問題。第一,永遠有幾個百分比的人是永遠照顧不了自己,以前我們會話這些人自作孽,為何自己不努力工作,為何要賭錢,為何要酗酒,為何要好嫖......但現在我們會覺得得那些人是不幸,因為他們的基因含有這個原素在當中,他們不容易受到其他的刺激而興奮,對其他事物的反應是較遲鈍,只對某事才感到樂趣,於是形成addictive癮。這不是普通人的意志力可以輕易扭轉得到,等於中世紀覺得那些人軟弱受魔鬼引誘,所以抵死。其實原理是一樣。我覺得很快可以用DNA作出治療,但未有之前,基本上是不幸多於一切。
如果一個人話寧願拿二千多元,而不去工作的人。那是完全違反人性。人性是無論你有多少錢,都會想多賺一點錢。人性是在任何情況下,都希望改善自己的生活,沒有人會覺得因只得二千多元會覺得幸福而因此在懶散,這不是基本人性。即使去到全世界最有錢的人,都想改進自己,這才是人性。所以不給人餓死,給予適當的人道救濟,雖然是干擾了一部人,令他們的生活壓力減低。舉例來講﹐如果他們沒有工作,就有機會餓死,就被迫要拾垃圾,不能不去工作。但大家知不知道在龐大壓力,有六七成人會去做其他事,好像有部分人會打劫,女人可能會做雞,有些人可能會自殺、自殘。八成人在重大壓力之下,是會被打垮;在嚴苛的環境之下,大約只有二成人會發奮。我們不能夠要人去冒這個險。
第二點我要講的,這個責任最後要甚麼人來負。最合理是由政府去承擔。因為政府的稅收大致是用我們社會認為最合理的途徑收回來。市民超過一定數目財富的才收利得稅、薪俸稅等,賣地等才抽稅。這是整個社會覺得比較公平的途徑。這個責任在整個社會。而在這個之上,我們再用一些自願的保助方式,如社會上有各種慈善服務,但如果社會沒有人做的時候,這就是全民的責任,是我們想到最公道的形式。
如果不用功利的眼光去看,這其實是我們良知的一部分,這就是所謂的惻隱之心。你見到一個人,不是話那個人會做賊有機會插死你,所以你才會救濟他。只是在門口見到有個人餓得很厲害,你已經覺得很不舒服,這個就是同理心。愈是眼前的東西,同理心的刺激愈大。舉例來講,拿刀插人一下,一般都很難做到,因為你自己也會覺得痛。那痛苦是很大的。若不是用刀而只是按制的話,然後就電他一下,要做這個會容易一點。因為那和你的直接經驗已有差距。若果電一個在另一間房的人,那又會容易一點下手。如果你按一下制,之後經過不同的轉換,那過程間接了,你又會覺得易一點。所以愈離我們遠的東西,愈不是我們的直接感受,我們同理心的發揮愈是低。所以我們要先照顧香港本地的人,即使那些人不會直接煩擾你,但你見到他們受苦,也會覺得不舒服。好像你出街的時候見到幾個人在街上餓得很辛苦,而你就去福臨門食飯,那你會覺得很開心嗎?我寧願不去福臨門食飯,去大家樂吃飯,大家一齊分享那個責任去照顧一下這些人。
問題是怎樣分擔才是公平,孔子話「食乎稻,衣乎錦于,於汝安乎?安,汝安則為之。」結果我們作為所謂的良知,就是我們作為social animal的一種天性。這包括了一個同理心,不能夠吃人肉。這都是天性的一部分。
而楊懷康講那些,就是極端海耶克分子,海耶克也不至於會那樣講。他認為完全不要救濟人,讓他們餓死為止。那些是social darwinism。即使以前的社會沒有完善的救濟,看在眼裏覺得不公平不正義的事在幾千年來都是如此。否則就不會有這兩句詩「朱門酒肉臭,路有凍死骨」。我們在一個社群裏,我們會追求某程度的公平,大家的距離不能差太遠,這就是公義,是我們天性的一部分,不能把我們的貧富拉得太遠,因為那是不公平。大家在同一社團中,大家互相合作。為何左派一直仍有市場,這就是原因。
謎米香港 www.memehk.com
Facebook: www.facebook.com/memehkdotcom

social darwinism 在 What is Social Darwinism? From Natural Selection ... - YouTube 的必吃
Charles Darwin's theory of natural selection, the propensity for strong genes to propagate through evolution and weak genes to die, ... ... <看更多>