สรุป SiriHub Investment Token โทเคนดิจิทัลแรกที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ ช่วยให้คนทั่วไปได้รับส่วนแบ่งรายได้จากค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์
ลงทุนแมน X เอ็กซ์สปริง ดิจิทัล
มีเงินเพียงหลักสิบบาท ก็สามารถลงทุนเพื่อได้รับส่วนแบ่งรายได้จากค่าเช่าอสังหาฯ ได้ ประโยคนี้อาจดูเป็นไปไม่ได้ในสายตาคนส่วนใหญ่ แต่วันนี้ สิ่งนี้กำลังจะเกิดขี้นแล้วในประเทศไทย
ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี โลกของการลงทุนก็ได้พัฒนาตาม
ทำให้มีช่องทางการระดมทุนและลงทุนใหม่ ๆ ที่ตอบโจทย์นักลงทุน รวมถึงคนทั่วไปในปัจจุบันมากขึ้น
ภาพจำเดิม ๆ ที่ว่าหากเราต้องการลงทุนในอสังหาฯ สักแห่ง เพื่อที่จะได้รับค่าเช่าที่จะเป็นกระแสเงินสดเข้ากระเป๋า
เราก็ต้องมีเงินทุนหลักล้านบาทนั้น อาจไม่จำเป็นอีกต่อไปแล้ว
เพราะสิ่งที่จะมาปูทางสร้างทางเดินใหม่ให้เกิดขึ้นในเมืองไทย
และกลายเป็นการปฏิวัติการระดมทุนและการลงทุนของวงการอสังหาฯ คือ SiriHub (สิริฮับ)
SiriHub เป็นโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน (Investment Token)
ที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์
หรือที่เรียกว่า Real Estate-backed Token
และรู้หรือไม่ว่า SiriHub ยังถือเป็น Real Estate-backed Token ตัวแรกของประเทศไทยที่ได้รับการอนุญาตจาก ก.ล.ต. อีกด้วย
แล้วโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน คืออะไร ?
โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนคือโทเคนดิจิทัลที่สร้างขึ้นบนเทคโนโลยี Blockchain และมีกลไกการให้สิทธิแก่ผู้ถือโทเคนผ่านสัญญาอัจฉริยะ (Smart Contract) ที่มีความปลอดภัยค่อนข้างสูง โปร่งใส และสามารถตรวจสอบธุรกรรมได้ตลอดเวลา
ซึ่งผู้ถือโทเคนดิจิทัลจะได้รับสิทธิในการเข้าร่วมลงทุนในโครงการ เพื่อรับผลตอบแทนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ส่วนแบ่งรายได้จากค่าเช่า หรือสิทธิอื่นใด ตามที่กำหนดไว้ใน White Paper หรือหนังสือชี้ชวน
คล้าย ๆ กับการถือหุ้นในบริษัท ที่ทำให้ผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของกิจการ มีสิทธิในส่วนแบ่งกำไรและได้รับเงินปันผลจากบริษัท
เพียงแต่การถือโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน ปกติแล้วผู้ถือโทเคนดิจิทัลจะมีเพียงสิทธิในการร่วมลงทุนเฉพาะในโครงการนั้น ๆ ที่เราสนใจ และรับผลตอบแทนตามที่ตกลงกันไว้ แต่ไม่ได้มีสิทธิในการเป็นเจ้าของโครงการแต่อย่างใด
สำหรับโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน SiriHub ออกโดยบริษัท เอสพีวี 77 จำกัด
และเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชนทั่วไปครั้งแรกโดยบริษัท เอ็กซ์สปริง ดิจิทัล จำกัด (XSpring Digital)
ซึ่งเป็นผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล (ICO Portal) ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ล.ต.
โดยมีความเชี่ยวชาญในการเป็นที่ปรึกษาด้านการแปลงสินทรัพย์เป็นโทเคนดิจิทัล
และมีทรัสตีคือบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) ทำหน้าที่เก็บทรัพย์สินและกำกับดูแลการดำเนินงานของผู้ออกโทเคนดิจิทัลให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ในหนังสือชื้ชวน
ซึ่งวัตถุประสงค์ของการออกโทเคนดิจิทัล SiriHub ก็เพื่อระดมทุนเป็นจำนวน 2,400 ล้านบาท ประกอบด้วย
(1) การลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินจำนวน 2,186 ล้านบาท โดย
(ก) ลงทุนในสัญญา RSTA (Revenue Sale and Transfer Agreement) เพื่อรับกระแสรายรับ เช่น ค่าเช่า รายได้จากการจำหน่ายทรัพย์สินโครงการ และผลตอบแทนอื่น ๆ จากกลุ่มอาคารสำนักงาน “Siri Campus (สิริ แคมปัส)” จากบริษัท สิริพัฒน์ โฟร์ จำกัด ซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในโครงการ
(ข) ลงทุนในหุ้นร้อยละ 100 ของบริษัท สิริพัฒน์ โฟร์ จำกัด ซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในกลุ่มอาคารสำนักงาน สิริ แคมปัส และโอนเข้ามาเป็นทรัพย์สินของกองทรัสต์
(2) การชำระต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการทำธุรกรรมการออกและเสนอขายโทเคนดิจิทัล ชำระคืนเจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกับการระดมทุนครั้งนี้ และเป็นเงินทุนหมุนเวียนและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของกลุ่มบริษัทผู้ออกโทเคนดิจิทัลจำนวน 214 ล้านบาท
ซึ่งผลประโยชน์หลัก ๆ ที่ผู้ถือโทเคนดิจิทัล SiriHub ได้รับก็คือกระแสรายรับสุทธิที่ได้จากกลุ่มอาคารสำนักงาน Siri Campus ซึ่งเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้อ้างอิงในการระดมทุนนี้
แล้ว Siri Campus น่าสนใจขนาดไหน?
Siri Campus เป็นกลุ่มอาคารสำนักงาน ตั้งอยู่ในทำเลศักยภาพสูงอย่าง T77 Community ในซอยสุขุมวิท 77 ที่เป็นเมืองต้นแบบแห่งอนาคตในย่านอ่อนนุช บนพื้นที่ 7 ไร่ 1 งาน 42.2 ตารางวา
ซึ่งในย่านนี้ รายล้อมไปด้วยแหล่งที่อยู่อาศัย และสิ่งอำนวยความสะดวกที่ครบครัน
ทั้งรถไฟฟ้า BTS ไลฟ์สไตล์คอมมิวนิตีมอลล์ “HABITO Mall” โรงเรียนนานาชาติ “Bangkok Prep International School” และอื่น ๆ อีกมากมาย
โดย Siri Campus มีทั้งหมด 5 อาคาร ซึ่งถูกออกแบบมาให้เป็นออฟฟิศยุคใหม่
ที่เน้นคำนึงถึงการทำงานของคนรุ่นใหม่ ผ่านการดีไซน์พื้นที่ทำงานและสภาพแวดล้อมให้มีความยืดหยุ่น จนเกิดการ Collaboration และสื่อสารกันได้ตลอดเวลา เพื่อกระตุ้นให้เกิดไอเดียใหม่ ๆ และความคิดสร้างสรรค์
มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นร้านกาแฟ ห้องสมุด ฟิตเนส และสวน
เป็นสถานที่ซึ่งรวมพื้นที่ทำงานและไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตไว้ในที่เดียวกันได้อย่างลงตัว
นอกจากนี้ Siri Campus ยังถูกออกแบบมาให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ด้วยการสอดแทรกธรรมชาติ ไว้ทุกพื้นที่ทั้งภายในและภายนอกอาคาร
และติดตั้งนวัตกรรมที่แปลงแสงและลมให้เป็นพลังงานยามค่ำคืน เช่น แผง Solar Cell
ที่สำคัญ กลุ่มอาคารสำนักงาน Siri Campus ซึ่งเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน)
ที่เป็นผู้เช่าระยะยาว ด้วยสัญญาเช่า 12 ปี ยังเป็นอาคารที่ได้รับการประเมินมาตรฐาน Fitwel Certificate ระดับสูงสุด 3 ดาวจากองค์กร Center for Active Design (CfAD) ประเทศสหรัฐอเมริกา ว่าเป็นโครงการที่ส่งเสริมสุขภาวะที่ดีต่อผู้ใช้อาคาร ทั้งด้านส่งเสริมสุขภาพ และประสิทธิภาพในการทำงานที่ดี
สรุปแล้ว ผู้ถือโทเคนดิจิทัล SiriHub ก็จะได้รับผลตอบแทนส่วนหนึ่งมาจากส่วนแบ่งค่าเช่าจากสัญญาเช่าระยะยาวของแสนสิริ นั่นเอง
ซึ่ง SiriHub มีอายุโครงการ 4 ปี (เว้นแต่มีการต่ออายุโครงการ เนื่องจากเหตุจำเป็นตามที่กำหนดไว้ในหนังสือชี้ชวน) โดยในปีสุดท้ายของโครงการ ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจะดำเนินการจำหน่ายทรัพย์สินโครงการ เพื่อนำมาจัดสรรเป็นส่วนแบ่งรายได้ ให้แก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัลตอนครบกำหนดอายุโครงการ
แล้วผู้ถือโทเคนดิจิทัล SiriHub จะได้รับผลตอบแทนอย่างไร ?
โทเคนดิจิทัลของ SiriHub จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ SiriHubA และ SiriHubB
โดยทั้งสองประเภท เสนอขายในราคา 10 บาทต่อโทเคน
1) SiriHubA จำนวน 160 ล้านโทเคน (มูลค่าเสนอขาย 1,600 ล้านบาท)
ผู้ถือจะได้รับส่วนแบ่งรายได้ เป็นรายไตรมาส (ทุก ๆ 3 เดือน) ไม่เกิน 4.5% ต่อปี และได้รับส่วนแบ่งรายได้จากการจําหน่ายทรัพย์สินโครงการ สูงสุดไม่เกิน 1,600 ล้านบาท ก่อนผู้ถือโทเคนดิจิทัล SiriHubB
พร้อมกับมีสิทธิในการลงมติอนุมัติให้มีการจำหน่ายทรัพย์สินโครงการ
หากรายได้ส่วนสุดท้ายที่ได้รับจากการจำหน่ายทรัพย์สินโครงการต่ำกว่า 1,600 ล้านบาท
2) SiriHubB จำนวน 80 ล้านโทเคน (มูลค่าเสนอขาย 800 ล้านบาท)
ผู้ถือจะได้รับส่วนแบ่งรายได้ เป็นรายไตรมาส (ทุก ๆ 3 เดือน) ไม่เกิน 8.0% ต่อปี
และได้รับส่วนแบ่งรายได้จากการจําหน่ายทรัพย์สินโครงการ เฉพาะส่วนที่เกิน 1,600 ล้านบาทเป็นต้นไป ต่อจากผู้ถือโทเคนดิจิทัล SiriHubA
แต่จะไม่มีสิทธิในการลงมติอนุมัติให้มีการจำหน่ายทรัพย์สินโครงการ
หากรายได้ส่วนสุดท้ายที่ได้รับจากการจำหน่ายทรัพย์สินโครงการต่ำกว่า 1,600 ล้านบาท
มาถึงตรงนี้สรุปได้ว่าโทเคนดิจิทัล SiriHub มีความน่าสนใจหลากหลาย เช่น
- ได้รับส่วนแบ่งรายได้เป็นรายไตรมาส ซึ่งไม่เกิน 4.5% หรือ 8.0% ต่อปี ขึ้นอยู่กับประเภทของโทเคนดิจิทัล
- ได้รับส่วนแบ่งรายได้จากการจำหน่ายทรัพย์สินโครงการเมื่อสิ้นสุดโครงการ
- อสังหาริมทรัพย์ที่ใช้อ้างอิงมีผู้เช่าระยะยาว โดยผู้ถือโทเคนจะได้รับมีส่วนแบ่งรายได้มาจากค่าเช่า Siri Campus ที่มีแสนสิริ เป็นผู้เช่าระยะยาว 12 ปี ซึ่งปัจจุบันเหลือระยะเวลาการเช่าอีก 10 ปี และแสนสิริได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ BBB+ จาก Tris Rating
ทำให้มั่นใจว่าจะได้รับกระแสเงินสดที่ค่อนข้างแน่นอน
- ได้ประโยชน์จากเทคโนโลยี Blockchain และ Smart Contract ที่ช่วยเพิ่มความปลอดภัยและความโปร่งใสในเรื่องของการทำธุรกรรม การใช้สิทธิ และการจัดสรรผลตอบแทน
- เป็นโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งก็คือ สัญญา RSTA และทรัพย์สินโครงการ Siri Campus
จึงมีความเสี่ยงต่ำกว่าโทเคนดิจิทัลที่ไม่มีอะไรมาอ้างอิง
- ถูกต้องตามกฎหมายไทย และอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต.
- สามารถลงทุนเริ่มต้นเพียง 10 บาท และสามารถลงทุนได้ผ่านโทรศัพท์มือถือ
ทำให้เกิดการกระจายโอกาสการลงทุนไปยังนักลงทุนรายย่อยมากขึ้น
ผู้ลงทุนธรรมดาที่ไม่มีทรัพย์สินมากก็สามารถลงทุนเพื่อรับส่วนแบ่งรายได้จากค่าเช่าจากอสังหาฯ ได้
- มีสภาพคล่อง ด้วยการซื้อขาย SiriHub ในตลาดรอง
ซึ่งสามารถซื้อขายโทเคนดิจิทัล ได้ในศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล เช่น ERX ที่เปิดบริการทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง
ทั้งนี้ SiriHub Investment Token ทั้งสองประเภท ปัจจุบันผ่านการอนุมัติจาก ก.ล.ต. แล้ว และจะเปิดให้จองซื้อ ICO ระหว่างวันที่ 21 กันยายน 2564 เวลา 00.01 น. - 4 ตุลาคม 2564 เวลา 15.30 น. ผ่านแอปพลิเคชัน XSpring
โดยมีมูลค่าการจองซื้อขั้นต่ำเพียง 10 บาทต่อโทเคน (ชำระเป็นเงินบาทเท่านั้น)
โดยนักลงทุนรายย่อยจะสามารถลงทุนได้ไม่เกินรายละ 300,000 บาทต่อโครงการ ตามกฎของ ก.ล.ต. ในขณะที่ผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ นิติบุคคลร่วมลงทุน หรือกิจการเงินร่วมลงทุน สามารถลงทุนได้ไม่จำกัดจำนวน
อ่านมาถึงตรงนี้ บางคนอาจสงสัยว่า
แล้วการลงทุนใน SiriHub จะต่างจากการลงทุนใน REITs (ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์) อย่างไร ?
จริง ๆ แล้ว Real Estate-backed Token จะมีความคล้ายคลึงกับกอง REIT
แต่ยังมีจุดที่แตกต่างกันไปตามกฎเกณฑ์ของแต่ละประเทศ
อย่างในประเทศไทยมีจุดที่ต่างกันคือ ส่วนใหญ่ REITs จะลงทุนในอสังหาฯ หลายประเภทหรือหลายโครงการ และสามารถเพิ่ม-ลดทรัพย์สินในกองทรัสต์ได้ อีกทั้งนักลงทุนรายย่อยสามารถเข้าลงทุนได้ไม่จำกัดมูลค่า
แต่ Real Estate-backed Token ส่วนใหญ่จะเข้าลงทุนในทรัพย์สินหรือโครงการใดโครงการหนึ่งเท่านั้น
และไม่มีการเพิ่ม-ลดทรัพย์สิน รวมถึงนักลงทุนรายย่อยสามารถลงทุนได้ไม่เกิน 300,000 บาทต่อโครงการ
และความต่างที่สำคัญก็คือเทคโนโลยีที่อยู่เบื้องหลัง โดย Real Estate-backed Token จะใช้เทคโนโลยี Blockchain และ Smart Contract ที่ช่วยเพิ่มความปลอดภัยและความโปร่งใสในการทำธุรกรรม การใช้สิทธิ และการจัดสรรผลตอบแทน นั่นเอง..
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมสำหรับ SiriHub ได้ที่ https://xspringdigital.com/th/project/sirihub
นักลงทุนที่สนใจลงทุนในโทเคนดิจิทัลผ่าน XSpring Digital สามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน XSpring ได้ที่ http://onelink.to/efumnu
และดูวิดีโอคำแนะนำการเปิดบัญชีกับ XSpring Digital ได้ที่ https://youtu.be/bPSTTUTDgxI
คำเตือน: ก่อนตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลในหนังสือชี้ชวนเพื่อทำความเข้าใจลักษณะของผลิตภัณฑ์ เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
同時也有126部Youtube影片,追蹤數超過80萬的網紅果籽,也在其Youtube影片中提到,每個人都有屬於他個人的造型,日子久了,便成為了自成一格的形象。不過,Hudson Chang這次來到Barber Shop,甫進店便發現清一色都是型男,儘管他未曾試過油頭造型,不過「一場來到」,就給自己一個機會吧! 大家經常說的油頭,又或坊間俗稱的「蛋撻頭」,是barber中最old school...
「smart school」的推薦目錄:
smart school 在 Eric's English Lounge Facebook 的最佳解答
翻轉視界 18 Changing Perspective
There's not just one road to the destination, but many roads. You just need to take the little step that’s right in front of you, and then the next one, and a few years down the track, they will seem like massive achievements.
通往目的地的路不止一條,有很多路可走。你只需要邁出眼前這一小步,然後再邁出下一步,幾年下來,將會成為巨大成就。
文章來自於New Humans of Australia (有取得授權)
★★★★★★★★★★★★
I didn’t meet my father until I was 6 years old. My parents had a comfortable, middle-class life in Shanghai, or as close as you could get under communism. But they always wanted to live overseas, and just before I was born, my dad came to Sydney to set things up. I don’t know why, but in the end, my mother and I didn’t join him until I was 6.
•a middle-class life 中產階級生活
•set things up 打點一切
•live overseas 往海外生活
•in the end 最後 (表達在經過一段時間或一連串事件之後的結果)
直到六歲前我都未曾見過父親。我的雙親在上海過著舒適的中產階級生活,或著說,在共產階級下所能得到的最接近的生活。他們一直響往海外生活,就在我出生前,我父親來到雪梨打點一切。但不知何故,直到六歲那年我與母親才終於與父親團聚。
★★★★★★★★★★★★
Unfortunately, half a year after we arrived, he left us. That was a huge shock. Our transition had already been quite difficult, as we both didn't speak English. Also, as Shanghai was such a big bustling city, Sydney felt a bit like the countryside, especially on the weekends, as no shops were open back then!
•shock 令人震驚的事件(或經歷);驚愕,震驚 (come as a great shock 讓人倍感震驚)
•transition 轉變;過渡
•a bustling city 繁華都會
不幸的是,就在我跟母親抵達半年後,父親離開了我們。這是個巨大的打擊,因爲我們不會說英文,在適應過渡期本就已過得相當艱辛。此外,不同於上海的繁華都會,雪梨更像鄉下,尤其在週末,那時連商店都不開門。
★★★★★★★★★★★★
We were very much reliant on my dad, not only financially, but also as a conduit into the wider community. So to have that broken was quite distressing. I remember Mum crying a lot. As we had become socially isolated, we didn’t find out anything about Centrelink, so we survived on her savings for a while, and then got some help from her family back in China.
•be reliant on… 依賴...
•a conduit into 進入...的渠道
•distressing (adj.) 令人苦惱的,令人擔憂的
•become socially isolated 變得孤立於社會
•survive on her savings 僅靠的她積蓄過日子
我們相當依賴我父親,不僅是經濟,他也是我們進入更廣泛社區的渠道。因此,當局面被打破時令人相當痛苦,我還記得母親時常哭泣。由於我們孤立於社會,所以我們並不知道澳洲社會福利聯絡中心 (Centrelink)的任何資訊,僅靠母親的積蓄支撐了一段時間,然後從母親在中國的娘家得到一些幫助。
★★★★★★★★★★★★
Eventually, Mum moved us down to Melbourne, where we were able to make some new networks and family friendships. But I was bullied a bit at school about things like my food and clothing! Whenever someone bullied me, I would defend myself, but because I didn’t have the language skills to explain to the teacher why, I got in trouble quite a bit. I ended up having to move school 3 times before I came to Balwyn Primary School, which was relatively multicultural.
•be able to 能夠
•make new networks 建立新的人脈,關係網
•be bullied 被霸凌
•language skills 語言能力
•get in trouble 惹上麻煩
•end up 最後處於;最後成爲;以…告終
•relatively 相對地
•multicultural 多元文化的
最後,母親帶著我搬遷到墨爾本,在那我們能夠建立起新的網絡與家庭情誼。然而。我在學校飽受霸凌,例如我的食物及衣物。每當有人霸凌我,我會自我防衛,但我的語言技巧不足以向老師解釋事發原因,因此常常陷入麻煩。後來我不得不再三轉學,直到就讀相對多元文化的博文小學(Balwyn Primary School)。
★★★★★★★★★★★★
After that, I did alright. Music featured very prominently in my life. I had started learning the violin from the age of 2.5 years old and even with all the troubles that were going on in my life, had somehow still kept up with it. As a result, I got a music scholarship to Trinity Grammar School. But even there I used to get into quite a lot of mischief, and would often skip school to go to the movies.
•do alight 過得不錯,做的不錯
•feature (v.) 以…為特色;給…以顯著的地位
•prominently 重要地;著名地;突出地,顯眼地
之後,我便過得不錯。音樂在我生活中佔有重要的一席之地,我從兩歲半開始學習小提琴,儘管生活中事事不如意,我依然堅持不輟。因此,我獲得三一文法學校( Trinity Grammar School)的音樂獎學金。但即使在那,我也常惡作劇、逃學看電影。
★★★★★★★★★★★★
By the end of year 11, I was told I would have to either repeat the year, or consider going to another school, which was quite humiliating for my mum. I decided to move school and surprisingly, I ended up doing quite well in year 12! As a result, I ended up getting into a double degree in Law and Music at Monash.
•repeat the year 留級 ; 重唸一年
•humiliating 令人感到恥辱的,丟臉的
11年級結束時,我被告知要麽被留級,要麼考慮轉學,這對我母親來說相當丟人。我決定轉學,而令人驚訝的是,我在12年級的時候表現優異,最後錄取蒙納士大學法律與音樂雙學位。
★★★★★★★★★★★★
When I started, my first thought was that I didn’t belong because I had done so badly in school up to year 11 and everyone else seemed so smart. But I put my head down, got through it, and ended up getting a job in the legal department of a major manufacturing company, which was a different approach to what most law students do.
•do not belong 不屬於這
•put my head down 埋頭苦幹
•the legal department of ...的法律部門
•a different approach 不同途徑
•approach (思考問題的)方式,方法,態度
當我開始進入大學,最初的想法是我不屬於這,因為我在11年級前都表現不佳,而這裡的人似乎都聰明絕頂。但我埋頭苦幹,咬牙撐過,最後在一家大型製造公司的法律部門找到工作,這與多數法律系學生的途徑不同。
★★★★★★★★★★★★
I really enjoyed it. It was hard work, but I learned a lot of foundational business, legal and corporate communication skills. After that I worked in corporate governance in RMIT, then started to moonlight as a lecturer in the Law Faculty. Eventually, they asked me if I wanted to do a PhD and I blindly said yes! I next worked at Swinburne University, and then was head-hunted to lead the corporate legal team at the Commercial Passenger Vehicles Commission.
•foundational 基礎的
•communication skills 溝通技巧
•corporate governance
•moonlight (v.) (尤指瞞著僱主)從事第二職業,兼職
•headhunt (v.) 物色(人才); 挖角
•legal team 法律團隊
我非常喜歡這份工作,這是份辛苦的工作,但我學習了很多基礎商業、法律以及公司溝通技巧。之後我在皇家墨爾本理工大學( RMIT)從事公司治理工作,並開始兼職擔任法律系講師。後來他們問我是否想要讀博士,我便盲目地答應了。接下來,我在斯威本大學(Swinburne University)工作,再被挖角到商用小客車委員會領導法律團隊。
★★★★★★★★★★★★
I had a good life, but after a while, I realised I wanted a different kind of job. I could see my seniors were making a lot of money but that their family life was not that good. And looking at my own upbringing, I wanted to be the kind of father who could be present in my own kids’ lives. So I decided on dentistry. It would not only allow me to use the hand skills that I had developed from playing the violin, but also the analytical and reasoning skills that I'd developed in law. Plus it would be flexible, and offer me a stable income and the chance to meet different people every day!
•upbringing 教養
•decide on sth 決定某事或東西
•analytical and reasoning skills 分析和推理能力
•offer a stable income 提供穩定收入
我的生活很不錯,但一段時間後,我意識到自己想要一份不同的工作。我知道前輩們賺了很多錢,但他們的家庭生活並不美滿。看著自己的成長經歷,我想要成為可以在孩子生活中出席的父親,所以我決定改行當牙醫。這項職業能讓我使用從拉小提琴中發展出的手部技巧,也能運用我在法律中發展出的分析與推理技能。此外,這個職業相當靈活,能為我提供穩定收入,並有機會每天與不同的人見面。
★★★★★★★★★★★★
My now fiancée, who was my girlfriend at the time, was also applying for further study, and coincidentally we both got into university in South Australia, so we moved to Adelaide together a few years ago.
•fiancée 未婚妻
•at the time 當時
•apply for 申請
•further study 繼續教育,進修;進一步研究;深造
•coincidentally 碰巧地;巧合地
我的未婚妻,當時的女友,也申請繼續深造,巧的是我們都考上南澳大學(University of South Australia),所以幾年前一起搬到阿得雷德( Adelaide)。
★★★★★★★★★★★★
I was lucky to get a university job at Flinders University. Initially, I started out as a casual lecturer in the law school, but I’ve since transitioned into teaching health law and research, and I’m currently writing a few books on the intersection between law and medicine. And also, obviously, trying to finish my dentistry degree!
•start out as… 起初擔任...
•transition into… 轉變到...
我很幸運的在福林德斯大學(Flinders University)找到工作,起初我在法學院擔任臨時講師,但我後來轉換到醫事法教學及研究。目前我正撰寫幾本關於法律與醫學相接的書籍,並努力完成我的牙醫學位。
★★★★★★★★★★★★
Mum eventually retrained as a Chinese high school teacher, and she’s still teaching to this day. Like most first generation migrants, she struggled quite a lot, and invested heavily in my success. After we’re married, my fiancée and I are planning to have children, and I’m sure they will have it much easier than I did.
•retrain 重新培養;再培訓;再訓練
•to this day 至今
•first generation migrants 第一代移民
•struggle a lot 掙扎奮鬥許久
•have it much easier 過的比較輕鬆
我的母親最終重新接受培訓,成為一名中文高中老師並執教至今。如同大多數第一代移民,她掙扎奮鬥許久,並為我的成功投資甚多。我與未婚妻打算婚後生孩子,我確信孩子會過的比我輕鬆得多。
★★★★★★★★★★★★
Still, a lot of the failures that I’ve had in my life have really informed a lot of my successes. Looking back, I wouldn't really want to change that to have a smoother life.
•inform [正式] 影響某人的態度或意見
https://www.ldoceonline.com/dictionary/inform
•have a smoother life 有一個更順遂的人生
我的生活中的種種失敗確實為我的成功提供借鑑。回首過去,我不會想要改變那些坎坷經歷去擁有一個更順遂的人生。
★★★★★★★★★★★★
Over the years, I've learned that perseverance is very important. I hope that through telling my story, I can be an example to others who might be in a similar position as I was: to show that there's not just one road to the destination, but many roads. You just need to take the little step that’s right in front of you, and then the next one, and a few years down the track, they will seem like massive achievements.
•over the years 多年來
•perseverance 不屈不撓,堅持不懈
•be an example 成為榜樣
•be in a similar position 處於相似的處境
•down the road/line/track 將來(的路)
多年來,我學到堅持不懈是至關重要的。我希望透過講述自己的故事,能成為其他可能與我有相似處境的人的榜樣:向他們展示通往目的地的路不止一條,有很多路可走。你只需要邁出眼前這一小步,然後再邁出下一步,幾年下來,將會成為巨大成就。
有興趣的同學可以支持New Humans of Australia
www.patreon.com/newhumansofaustralia
Photographer: Paul Heinrich instagram.com/paulfheinrich
文章與圖片出處: https://bit.ly/2XJsciq
★★★★★★★★★★★★
翻轉視界: http://bit.ly/3fPvKUs
批判性思考問題大全: http://bit.ly/34rdtJ7
smart school 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
ทำไม สิงคโปร์ จึงเป็นประเทศแห่ง บริการทางการเงิน ? /โดย ลงทุนแมน
ประเทศเกาะเล็ก ๆ แห่งนี้มีประชากรเพียงราว ๆ 5.7 ล้านคน
แต่สามารถส่งออกบริการด้านการเงินมากเป็นอันดับ 1 ของทวีปเอเชีย
คิดเป็นมูลค่าถึง 1,210,000 ล้านบาท ในปี 2019
จากการจัดอันดับเมืองศูนย์กลางการเงินโลกของ Long Finance ประจำปี 2021
สิงคโปร์คือศูนย์กลางการเงินอันดับ 5
เป็นรองเพียงนิวยอร์ก กรุงลอนดอน และเซี่ยงไฮ้ ซึ่งเป็นมหานครหลักของประเทศมหาอำนาจ
กับฮ่องกง ที่เป็นเมืองเชื่อมต่อธุรกิจระหว่างโลกกับจีนแผ่นดินใหญ่
สำหรับประเทศเกาะเล็ก ๆ ที่เพิ่งก่อตั้งในปี 1965 และแทบไม่มีทรัพยากรธรรมชาติอะไรเลย
แม้แต่น้ำจืดก็ยังขาดแคลนจนต้องนำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
แต่สามารถเติบโตจนแซงหน้ามหานครในหลายประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่กว่า
และก้าวขึ้นมาอยู่ระดับแถวหน้าของโลกได้ภายในเวลาไม่ถึง 50 ปี..
ความมหัศจรรย์ทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์ มีเส้นทางเป็นอย่างไร ?
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ซีรีส์บทความ “Branding the Nation” ปั้นแบรนด์ แทนประเทศ
ตอน ทำไม สิงคโปร์ จึงเป็นประเทศแห่ง บริการทางการเงิน ?
ถึงแม้ประเทศจะมีขนาดเล็ก ไม่ค่อยเหมาะสมกับการเพาะปลูก และแทบไม่มีทรัพยากรอะไรเลย
แต่เกาะสิงคโปร์ยังมีความโชคดีอยู่ประการหนึ่ง คือ
“ทำเลที่ตั้งที่อยู่ปลายสุดของคาบสมุทรมลายู”
ทำเลนี้เป็นจุดสำคัญของเส้นทางเดินเรือ ที่เชื่อมต่อระหว่างเอเชียตะวันออก กับอินเดียและยุโรป
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 อังกฤษรวบรวมดินแดนแถบนี้และเรียกว่า “อาณานิคมช่องแคบ”
สิงคโปร์จึงถูกวางให้เป็นเมืองท่าสำคัญของบริษัท บริติช อีสต์ อินเดีย ซึ่งเป็นบริษัทที่เดินเรือทำการค้าขายระหว่างยุโรป กับอินเดียและโลกตะวันออก
ต่อมาเมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 เกิดอุตสาหกรรมอาหารกระป๋องที่ได้รับความนิยมสูงในยุโรป แร่ธาตุที่จะนำมาทำกระป๋องก็คือ ดีบุก ซึ่งพบมากแถบคาบสมุทรมลายู เมืองท่าสิงคโปร์จึงถูกพัฒนาให้เป็นตลาดค้าดีบุกที่สำคัญของโลก
นอกจากดีบุกแล้ว การนำยางพาราเข้ามาปลูกในแถบมลายูในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน
ก็ทำให้สิงคโปร์กลายเป็นศูนย์กลางของตลาดประมูลยางพาราอีกหนึ่งตำแหน่ง
การเป็นทั้งเมืองท่า เป็นศูนย์กลางการค้าดีบุกและยางพารา ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศในสิงคโปร์คึกคัก ดึงดูดชาวต่างชาติให้เข้ามาเปิดกิจการธนาคาร
ธนาคารต่างชาติแห่งแรกที่เข้ามาเปิดทำการในสิงคโปร์ คือ The Union Bank of Calcutta
เปิดในปี 1840 มีการจัดตั้งสกุลเงินประจำอาณานิคมช่องแคบ คือ Straits Dollar ในปี 1845
ส่วนธนาคารแห่งแรกที่ก่อตั้งในสิงคโปร์ ก่อตั้งโดยชาวจีนโพ้นทะเลที่อพยพมาจากกวางตุ้ง
ชื่อว่า Kwong Yik Bank ในปี 1903 และหลังจากนั้นก็ตามมาด้วยธนาคารอีกหลายแห่ง
แต่ก็มีธนาคารมากมายที่ล้มหายตายจาก หรือถูกควบรวมกับธนาคารอื่น ๆ
ส่วนธนาคารที่ยังดำเนินการมาจนถึงปัจจุบันก็คือ
OCBC หรือ Oversea-Chinese Banking Corporation Limited ซึ่งเกิดจากการควบรวมธนาคารของชาวจีนฮกเกี้ยน 3 แห่ง ในปี 1932
และอีกธนาคารหนึ่งก็คือ UOB หรือ United Overseas Bank ซึ่งก่อตั้งโดยชาวมาเลย์เชื้อสายจีนในปี 1935
แต่ท่ามกลางการวางรากฐานด้านการเงินการธนาคารของสิงคโปร์
การเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองท่าแห่งนี้ต้องหยุดชะงักลงในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เพราะถูกยึดครองโดยกองทัพญี่ปุ่น
เมื่อหลังจบสงคราม อาณานิคมช่องแคบได้รับเอกราชจากอังกฤษ และสิงคโปร์ก็ได้ขอรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซีย ในปี 1963
แต่ด้วยปัญหาความขัดแย้งด้านเชื้อชาติ และอุดมการณ์ทางการเมือง
ท้ายที่สุดสิงคโปร์จึงแยกตัวออกจากมาเลเซีย และก่อตั้งประเทศในปี 1965
พร้อมกับตั้งสกุลเงินดอลลาร์สิงคโปร์ของตัวเองในอีก 2 ปีถัดมา
สิงคโปร์ถือกำเนิดประเทศด้วยการไม่มีทรัพยากรอะไรเลย
และเต็มไปด้วยแรงงานชาวจีนที่หลั่งไหลมาเริ่มต้นชีวิตใหม่ในช่วงหลังสงครามโลก
ลี กวน ยู (Lee Kuan Yew) นายกรัฐมนตรีคนแรกของสิงคโปร์ จึงให้ความสำคัญกับเรื่องสวัสดิภาพความเป็นอยู่ รวมไปถึงการสร้างทักษะให้กับแรงงาน ต่อยอดจากการเป็นเมืองท่าค้าขาย
มีการจัดตั้ง Housing and Development Board เพื่อดูแลในเรื่องที่พักอาศัย
และสร้างนิคมอุตสาหกรรมในเขต Jurong ทางตะวันตกของเกาะ
เพื่อสร้างงานในภาคอุตสาหกรรม
โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ทั้ง 2 โครงการ ต้องใช้เงินลงทุนสูง รัฐบาลสิงคโปร์จึงลงทุนเองบางส่วนในโครงการเหล่านี้ และได้ตั้ง The Development Bank of Singapore Limited หรือ ธนาคาร DBS ในปี 1968 เพื่อรองรับเงินทุน กระตุ้นให้เงินทุนหมุนเวียน และโครงการพัฒนาดำเนินไปอย่างราบรื่น
เมื่อผู้คนมีที่อยู่อาศัย มีงานทำ และค่อย ๆ หลุดพ้นจากความยากจนแล้ว รัฐบาลก็ต้องวางแผนต่อเนื่องเพื่อให้เศรษฐกิจเติบโตได้อย่างยั่งยืน
ประการแรก: พัฒนาการศึกษา
เพราะสิ่งที่สำคัญที่สุดของประเทศที่ขาดแคลนทรัพยากรอย่างสิงคโปร์ ก็คือ “ทรัพยากรมนุษย์”
รัฐบาลสิงคโปร์จึงให้ความสำคัญต่อนโยบายการศึกษาอย่างสูงสุด โดยมีการปฏิรูปคุณภาพของระบบ และมาตรฐานการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
เริ่มจากการมีบุคลากรครูคุณภาพสูง โดยครูทุกคนต้องจบการศึกษาในด้านที่เกี่ยวข้อง หลังจบการศึกษาต้องเข้ารับการฝึกอบรมวิชาชีพครูจากสถาบันการศึกษาแห่งชาติสิงคโปร์ (National Institute of Education หรือ NIE) เป็นเวลา 1 ปี เมื่อปฏิบัติหน้าที่ครูแล้วต้องได้รับการประเมิน และพัฒนาในทุก ๆ ปี
และด้วยความหลากหลายทางเชื้อชาติและภาษาของผู้คนในสิงคโปร์ ที่มีทั้งชาวจีน ชาวมาเลย์ ชาวทมิฬ ซึ่งแต่ละเชื้อชาติต่างก็มีการใช้ภาษาเป็นของตัวเองแตกต่างกันไป
สิ่งที่จะหลอมรวมให้คนทุกเชื้อชาติสามารถอยู่ร่วมกันก็คือ
“ชาวสิงคโปร์ทุกคนจะต้องสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้”
นำมาสู่ระบบการเรียนการสอนสองภาษา ที่มีการใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก
ส่วนภาษาที่สองก็เป็นภาษาของแต่ละเชื้อชาติ
รัฐบาลสิงคโปร์ยังได้สร้างทางเลือกในการศึกษาระดับมัธยมให้กับประชาชน โดยแบ่งเป็น
หลักสูตรมัธยมศึกษาเชิงวิชาการ สำหรับนักเรียนที่มุ่งเรียนต่อในมหาวิทยาลัย
และหลักสูตรมัธยมศึกษาโพลีเทคนิค สำหรับนักเรียนที่มุ่งเรียนต่อในสายอาชีวะ
ซึ่งรัฐบาลสิงคโปร์ก็ผลักดันมาตรฐานในการเรียนสายอาชีวะให้มีคุณภาพสูง
เพราะมองว่านักเรียนแต่ละคนมีความถนัดทางวิชาการไม่เท่ากัน และสายอาชีวะสามารถผลิตบุคลากรเพื่อป้อนตลาดแรงงานในทันที
โดยหนึ่งในสายวิชาชีพ ที่รัฐบาลผลักดันตั้งแต่การก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวะแห่งแรก ๆ ก็คือ “นักบัญชี”
สำหรับการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย มีการจัดตั้ง National University of Singapore (NUS) ที่เกิดจากการควบรวมมหาวิทยาลัย 2 แห่งในปี 1980 และเริ่มพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการ โดยจัดตั้ง NUS Entrepreneurship Centre ในปี 1988
ซึ่งในปีการศึกษา 2022 มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ก็เป็นมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดอันดับ 1 ของทวีปเอเชีย
จากการจัดอันดับโดย QS
ต่อมาในปี 1981 มีการจัดตั้ง Nanyang Technological University (NTU)
ซึ่งก็กลายเป็นมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดอันดับ 2 ของทวีปเอเชีย
โดยมี Nanyang Business School เป็นสถาบันด้านบริหารธุรกิจอันดับ 1 ของสิงคโปร์
เมื่อสร้างแรงงานที่เป็นที่ต้องการของตลาด โดยเฉพาะในภาคบริหารธุรกิจและการเงิน รวมไปถึงด้านกฎหมาย และแรงงานส่วนใหญ่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี
ปัจจัยเหล่านี้จึงเป็นสิ่งสำคัญ ทำให้สิงคโปร์มีความเป็นเมืองนานาชาติ และมีข้อได้เปรียบดึงดูดบริษัทต่างชาติ โดยเฉพาะสถาบันการเงิน บริษัทด้านบัญชี และกฎหมาย ให้เลือกมาตั้งสำนักงานใหญ่ระดับภูมิภาคในสิงคโปร์
รัฐบาลได้จัดตั้ง ธนาคารกลางแห่งสิงคโปร์ (Monetary Authority of Singapore หรือ MAS) ในปี 1971 เพื่อควบคุมสถาบันการเงิน และบริหารจัดการนโยบายทางการเงิน
ด้วยความที่สิงคโปร์เป็นประเทศขนาดเล็กและเป็นเมืองท่าค้าขาย และพึ่งพาการค้าจากต่างประเทศสูงมาก สิงคโปร์จึงอาศัยกลไก “อัตราแลกเปลี่ยน” เป็นเครื่องมือในการดำเนินนโยบายการเงิน ภายใต้การบริหารจัดการของ MAS
ประการที่ 2: ปฏิรูประบบราชการ
เมื่อวางแผนระบบการศึกษาเพื่อสร้างแรงงานที่มีคุณภาพแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่ต้องพัฒนาเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติก็คือ “ความโปร่งใส”
ในช่วงหลังการแยกตัวเป็นเอกราช
สิงคโปร์เคยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีการคอร์รัปชันสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
รัฐบาลภายใต้การนำของนายก ลี กวน ยู ได้ย้ายสำนักสืบสวนการทุจริตคอร์รัปชัน (Corrupt Practices Investigation Bureau หรือ CPIB)
ซึ่งเป็นองค์กรที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1952 มาอยู่ภายใต้สำนักนายกรัฐมนตรี
และทำการปฏิรูปกฎหมายป้องกันและปราบปรามการคอร์รัปชัน ให้ยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ
ทั้งการตัดสินลงโทษผู้ต้องหาโดยไม่ต้องมีหลักฐานชัดเจน แค่มีพฤติกรรมโน้มเอียงไปในทางไม่ซื่อสัตย์ก็สามารถตัดสินได้ หากผู้ต้องหาถูกตัดสินว่าผิดจริง ก็จะได้รับโทษอย่างรุนแรง
นอกจากโทษทางกฎหมายแล้ว ยังต้องชดใช้ค่าเสียหายเท่ากับจำนวนเงินที่ทำการทุจริตด้วย
หลังจากตัวบทกฎหมาย และกระบวนการลงโทษเริ่มเข้าที่เข้าทาง
ขั้นต่อมา คือการเพิ่มผลตอบแทนให้ข้าราชการ โดยเริ่มในปี 1989
เพื่อจูงใจให้คนเก่งเข้ารับราชการ และลดการรับสินบนของเจ้าหน้าที่รัฐ
รัฐบาลสิงคโปร์ใช้เวลาต่อสู้กับการคอร์รัปชันมาเป็นเวลากว่า 50 ปี
จนสิงคโปร์กลายเป็นประเทศที่มีดัชนีความโปร่งใส (Corruption Perceptions Index)
สูงเป็นอันดับ 3 ของโลก ในปี 2020
เมื่อประเทศมีความโปร่งใส ก็ดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ ในขณะที่รัฐบาลก็มีเงินมาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น ทั้งการคมนาคมขนส่ง ไปจนถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
รัฐบาลสิงคโปร์ยังได้ก่อตั้ง คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ (Economic Development Board หรือ EDB) เพื่อวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจที่ชัดเจน
จากเมืองท่าปลอดภาษี ในช่วงทศวรรษ 1970s สิงคโปร์ต่อยอดมาสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และปิโตรเคมี ในทศวรรษ 1980s
และในช่วงทศวรรษ 1990s ประเทศแห่งนี้ก็เปลี่ยนไปเป็นศูนย์กลางบริการทางการเงินของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประการที่ 3: พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
รัฐบาลสิงคโปร์ได้จัดตั้ง The Smart Nation and Digital Government Group หรือ SNDGG รับผิดชอบในการเปลี่ยนแปลงบริการต่าง ๆ ของภาครัฐสู่ระบบดิจิทัล เพื่อเก็บข้อมูล และประยุกต์ใช้ในการวางแผนพัฒนาประเทศ ทำให้รัฐบาลสิงคโปร์มี Big Data โดยเฉพาะข้อมูลทางการเงิน
รัฐบาลจึงสามารถตรวจสอบเส้นทางทางการเงินได้ ป้องกันการฟอกเงิน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เองทำให้สิงคโปร์ได้รับความน่าเชื่อถือ สามารถเป็นศูนย์กลางทางการเงิน
รัฐบาลยังต่อยอดและให้การสนับสนุนเทคโนโลยีทางการเงิน หรือ FinTech โดยมีเป้าหมายเพื่อผลักดันให้สิงคโปร์เป็น The FinTech Nation
ทั้งการเปิดให้บริษัท FinTech จากทั่วโลก ขอใบอนุญาต Digital Banking ได้เต็มรูปแบบ
ไม่ปิดกั้นเฉพาะองค์กรในสิงคโปร์ และให้การสนับสนุนนวัตกรรมทางการเงินหลายรูปแบบ
ทั้งระบบชำระเงิน, บล็อกเชน ไปจนถึงเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
ในขณะที่ธนาคารกลางสิงคโปร์ ก็เป็นผู้ริเริ่มจัดงาน Singapore FinTech Festival ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรกในปี 2016 และจัดขึ้นติดต่อกันมาเป็นประจำทุกปี ซึ่งถือว่าเป็นมหกรรม FinTech ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
ปัจจุบัน ธนาคารสิงคโปร์ที่ใหญ่ที่สุด 3 แห่ง คือ DBS, OCBC และ UOB
ล้วนเป็น 3 ธนาคารที่ใหญ่อันดับต้น ๆ ในภูมิภาคอาเซียน มีผลิตภัณฑ์การเงินที่หลากหลาย ทั้งประกันภัย ผลิตภัณฑ์การลงทุนต่าง ๆ ไปจนถึงสกุลเงินดิจิทัล
ภาคบริการการเงินคิดเป็นสัดส่วนราว 7.4% ของการส่งออกสินค้าและบริการของสิงคโปร์ ซึ่งบริการขั้นสูงเหล่านี้ มีส่วนสำคัญที่ผลักดัน GDP ต่อหัวของชาวสิงคโปร์ให้สูงขึ้นเรื่อย ๆ
ในปี 1965 ที่ก่อตั้งประเทศ ชาวสิงคโปร์เคยมี GDP ต่อหัวน้อยกว่า เจ้าอาณานิคมอย่างสหราชอาณาจักร ประเทศแห่งนวัตกรรมอย่างเยอรมนี หรือประเทศมหาอำนาจในเอเชียอย่างญี่ปุ่น
แต่ในปี 2020 GDP ต่อหัวชาวสิงคโปร์แซงหน้าประเทศเหล่านี้ทั้งหมด และมากเป็นเกือบ 1.5 เท่า ของอดีตเจ้าอาณานิคม..
เรื่องทั้งหมดนี้เกิดจากการวางแผนระยะยาว
ทั้งการเตรียมทรัพยากรมนุษย์ให้พร้อมสำหรับงานบริการ
การพัฒนาประเทศให้โปร่งใสและมีความน่าเชื่อถือในระดับสากล
รวมไปถึงการช่วยเหลือของภาครัฐในทุก ๆ ด้าน
จากเมืองท่าศูนย์กลางการค้า สิงคโปร์ก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์กลางการเงินของภูมิภาค และกำลังจะกลายเป็นศูนย์กลางเทคโนโลยีทางการเงินแห่งศตวรรษที่ 21
เรื่องราวของประเทศเกาะมหัศจรรย์แห่งนี้ บอกให้เรารู้ว่า
เมื่อเริ่มเป็นศูนย์กลางอะไรสักอย่าง และสั่งสมประสบการณ์จนมากพอแล้ว
ก็จะง่ายในการดึงดูดสิ่งใหม่ ๆ และกลายเป็นศูนย์กลางด้านอื่น ๆ เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
และในวันนี้ สิงคโปร์กำลังเตรียมพร้อมทุกอย่าง
สำหรับการเป็นศูนย์กลางอีกหลายด้าน ที่กำลังจะเกิดขึ้นในโลกอนาคต..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-http://prp.trf.or.th/download/2538/
-https://atlas.cid.harvard.edu/explore?country=undefined&product=404&year=2019&productClass=HS&target=Product&partner=undefined&startYear=undefined
-https://remembersingapore.org/2011/10/07/money-never-sleeps-a-brief-history-of-banking-in-sg/
-https://lkyspp.nus.edu.sg/docs/default-source/case-studies/entry-1516-singapores_transformation_into_a_global_financial_hub.pdf
-https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.PCAP.CD?locations=SG-GB-JP-DE
-https://www.moneyandbanking.co.th/article/news/dbs-cryptocurrency-trading-130964?fbclid=IwAR2VVHEH9_n29fpyXSQ6EgSGDm63Lhm3aQF0aj7I8LIQ_B2wgjIXSazIVxU
smart school 在 果籽 Youtube 的最佳解答
每個人都有屬於他個人的造型,日子久了,便成為了自成一格的形象。不過,Hudson Chang這次來到Barber Shop,甫進店便發現清一色都是型男,儘管他未曾試過油頭造型,不過「一場來到」,就給自己一個機會吧!
大家經常說的油頭,又或坊間俗稱的「蛋撻頭」,是barber中最old school的造型,barber用的頭蠟叫pomade,據說從前的人是用豬油。slick back的造型就像「賭神頭」一樣,頭髮全部梳向後。不過,近年最多人選擇的髮型是side part pompadour,即是髮界為四六比例。
Hudson在理髮師Edward悉心梳理之後,剪了人生的首個barber髮型。同時在business formal、business casual及smart causal三個不同風格下,分別配搭出不同的腕錶造型。
影片:
【我是南丫島人】23歲仔獲cafe免費借位擺一人咖啡檔 $6,000租住350呎村屋:愛這裏互助關係 (果籽 Apple Daily) (https://youtu.be/XSugNPyaXFQ)
【香港蠔 足本版】流浮山白蠔收成要等三年半 天然生曬肥美金蠔日產僅50斤 即撈即食中環名人坊蜜餞金蠔 西貢六福酥炸生蠔 (果籽 Apple Daily) (https://youtu.be/Fw653R1aQ6s)
【這夜給惡人基一封信】大佬茅躉華日夜思念 回憶從8歲開始:兄弟有今生沒來世 (壹週刊 Next) (https://youtu.be/t06qjQbRIpY)
【太子餃子店】新移民唔怕蝕底自薦包餃子 粗重功夫一腳踢 老闆刮目相看邀開店:呢個女人唔係女人(飲食男女 Apple Daily) https://youtu.be/7CUTg7LXQ4M)
【娛樂人物】情願市民留家唔好出街聚餐 鄧一君兩麵舖執笠蝕200萬 (蘋果日報 Apple Daily) (https://youtu.be/e3agbTOdfoY)
果籽 :http://as.appledaily.com
籽想旅行:http://travelseed.hk
健康蘋台: http://applehealth.com.hk
動物蘋台: http://applepetform.com
#油頭 #腕錶 #正裝 #BarberShop #穿搭技巧
#果籽 #StayHome #WithMe #跟我一樣 #宅在家
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/CE9-hnnWoEQ/hqdefault.jpg)
smart school 在 睿富財經頻道WealtHub Channel Youtube 的最佳解答
今集《#致富解碼》邀請到人稱「學者股神」、香港恒生大學商學院副院長 #梁劍平 博士 (Thomas),近30年專注投資港股的梁博士,眼見2020年港股表現不理想,轉投美股賺盡回報。2021年梁博士如何配置?即看博士學術級分析!
【第25集主題:#2021年股市走勢】
➤ 【投資Hotspot】與你捕捉環球及香港市場投資先機 00:00
00:26 Alex 早前已提醒3月是風險集中的月份
00:53 為何美國長債息上升?
01:13 疫情復甦的股市表現
02:18 今集嘉賓介紹
➤ 【致富解碼】 邀請業界人才暢談財經金融,深入淺出與你配置Smart Money 02:59
03:50 為何棄港股轉美股?
15:41 怎樣才是正在賺錢的公司?
32:40 對2021年港股和大市表現有何看法?
34:34 坊間有意見認為恒指2021年會升至40000點,相信嗎?
37:06 煤氣會升回以往高位嗎?
➤ 【透視IPO】全新單元,深入分析IPO新股的知識 39:08
39:22 為何會出現孖展抽新股機制?
39:57 為何孖展風險極低?
41:32 提供融資有何利益?
? 鎖定睿富財經頻道,《致富解碼》新集數逢星期六 9a.m. 上線!
======================================================
【書籍推介 】
➤ 學者股神投資哲學(梁劍平博士)
實體書、天窗會員9折、全球運送:https://bit.ly/3qjZWvl
Google Play 電子書、試閱:http://bit.ly/2OpjMb4
======================================================
梁劍平博士 2021年3月25日 Executive Club 活動報名
https://sbus.hsu.edu.hk/en/making-your-money-work-smartly-speaker-dr-thomas-leung-associate-professor-department-of-marketing-associate-dean-of-the-school-of-business-hsuhk/
======================================================
【更多推薦影片】
➤ 胡顯麟:2021年Q1必睇IPO?https://youtu.be/6sjds3rhUKo
➤ 曾淵滄博士:2021年新、舊經濟股表現 https://youtu.be/Ej2M5Cmjwkg
➤ 林浩文:英國樓未來5年升值潛力是多少? https://youtu.be/kj_sL3JOsco
======================================================
【追蹤 WealtHub睿富,即可獲得最新財經金融資訊】
Facebook: https://www.facebook.com/wealthub.hk
Instagram: https://www.instagram.com/wealthub18/
YouTube: http://bit.ly/3938XAx
Website: http://www.wealthub.hk/
投資涉及風險。本節目純為嘉賓個人意見分享,不構成任何投資招攬或建議。本節目對閣下因援引有關資料所引致的任何損失或損害概不負責。
#Wealthub #iBanker見聞錄 #睿富財經頻道 #學者股神 #恒生大學 #股票
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/WPilYAJ_JXs/hqdefault.jpg)
smart school 在 SMART Mandarin - Katrina Lee Youtube 的最佳解答
😀 Download Conversation PDF
https://winning-thinker-7590.ck.page/5fd8c5b6f7
😀https://youtu.be/CkEg10xMmjM
How to Memorize Chinese Characters Easily? Tips & Immersion Ideas from two Taiwanese Teachers (2021)
Let's Get Connected! 😀
SMART Mandarin Faceboook Group
https://www.facebook.com/groups/319018825960625/
Listen to SMART Mandarin on Spotify
Follow SMART Mandarin on Instagram
smart_mandarin_katrina_lee
--------------------------------------------------------------------------
Suggested Video Lessons 😀
How To Cook Egg Fried Rice In Chinese
https://www.youtube.com/watch?v=L6HQb5ncMCA&t=731s
Chinese Daily Use Sentences for Beginners
https://www.youtube.com/watch?v=gcJip1otw98&t=152s
How to Ask Favor in Mandarin
https://www.youtube.com/watch?v=Nya1RBfG5Wc
Don’t’ Understand Mandarin?! Speak Too FAST!!
https://www.youtube.com/watch?v=N3oTjKcHp0Y&t=659s
How to Learn Chinese Characters
https://www.youtube.com/watch?v=k4B9JKrDdtA&t=1457s
Useful Chinese Slangs
https://www.youtube.com/watch?v=ln0U0v7ee38&t=364s
Airport Mandarin
https://www.youtube.com/watch?v=own9Kxc8E18
Useful Chinese Phrases
https://www.youtube.com/watch?v=ybsVmasSfbo
How to Remember Chinese Tones
https://www.youtube.com/watch?v=SQLPOXe8C6s
Super Easy Mandarin for Beginners
https://www.youtube.com/watch?v=gcJip1otw98&t=152s
Chinese Everyday Verbs
https://www.youtube.com/watch?v=TzwErSdwpR8&t=862s
Business Mandarin for Beginners
https://www.youtube.com/watch?v=suCBDfsMOQc
https://youtu.be/HzezGZcTRNk
#chinesefillerwords #beginnerchinese #learnmandarin
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/HzezGZcTRNk/hqdefault.jpg)