We talk so much about diversity, let's not forget biodiversity! I'd like to share with you something that's close to my heart for so many reasons.
Sarawak Biodiversity Centre (SBC) collaborates with five local communities to produce LitSara® products. SBC buys the Litsea cubeba oil (tenem in Kelabit & Lun Bawang; pahkak in Bidayuh) distilled by the communities, and then makes products from them.
LitSara® is the trademark name for Litsea cubeba, a plant with a chemical make-up that is unique to Sarawak. Combining science with the traditional knowledge of local communities, SBC registered an intellectual property (IP) for this plant.
Because of the IP, the communities receive Indigenous Knowledge Benefit Sharing (royalties) for every Litsara® product sold.
I think it’s incredible that traditional knowledge, and unique plants of our land can be IP registered, because many a times people seek knowledge from our community elders for their own profit and forget that the wisdom passed down through generations within these communities. With IP-registration, their traditional knowledge is legally owned and protected and people can still use the plants and commercialise, whilst still benefiting the community.
There’s so much more to share about these efforts, you can get more info and the products on www.litsara.com
(I personally am looking forward to the IP registration of our folk songs, but that’s a story for another day).
*images shows Litsara & NatureSara products. Find out more on their website :-)
#litsara #litsea #litseacubeba #ip #traditionalknowledge #sarawak #biodiversity #productshoot #biodegradablewipes #handsanitisers #local #sapotlocal #communities #dayak #kampung #harvesting #plantnowharvestlater #soil #green #linenspray #wipes #plants
同時也有38部Youtube影片,追蹤數超過32萬的網紅GENKI LABO,也在其Youtube影片中提到,いつも使っている薬品の処理はどうしているのかと沢山の質問がありましたのでお答えします! 【廃液処理方法】 ○京都大学 http://www.chem.zenkyo.h.kyoto-u.ac.jp/operation/Operation_Guide_WMV/operation/frame/fr...
「chemical science」的推薦目錄:
- 關於chemical science 在 Facebook 的精選貼文
- 關於chemical science 在 紡織產業綜合研究所 Facebook 的最佳解答
- 關於chemical science 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 的最讚貼文
- 關於chemical science 在 GENKI LABO Youtube 的最佳解答
- 關於chemical science 在 Ketchup Jo Youtube 的最讚貼文
- 關於chemical science 在 Ketchup Jo Youtube 的精選貼文
- 關於chemical science 在 Chemical Science - 首頁| Facebook 的評價
- 關於chemical science 在 Lec 1 | MIT 5.112 Principles of Chemical Science, Fall 2005 的評價
chemical science 在 紡織產業綜合研究所 Facebook 的最佳解答
塞爾維亞諾維薩德大學的Goran Stojanović教授研發了微流體和紡織電子技術的結合,可加快醫學診斷及治療的速度。與傳統的實驗室相比,所需要的材料和產生的廢料更少。將微流體技術與紡織穿戴科技做結合,可以改善生理重要數據收集的方式和數量。了解更多▶https://link.growkudos.com/1tcbt0nnu9s
From “labs on a chip” to “labs on a body”! Did you know that the latest #research in #smart #textiles and #wearables could revolutionise scientific processes - and medical outcomes? Find out more about the pioneering @StrentexProject at https://link.growkudos.com/1tcbt0nnu9s via @growkudos
chemical science 在 Wannasingh Prasertkul (วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล) Facebook 的最讚貼文
ขีดจำกัดของโลก 9 ประการ
เรื่องโลกร้อนเป็นแค่ 1 ใน 9 เท่านั้น ! มีอีก 8 ตัว! คุณพระ!!
-----------------------
เมื่อไม่นานมานี้ได้ดูสารคดีเรื่อง Breaking Boundaries: The Science of Our Planet ใน netflix [ https://www.imdb.com/title/tt14539726/?ref_=nv_sr_srsg_0 ] น่าสนใจมาก
หนังพูดเรื่อง The 9 planetary boundaries หรือขีดจำกัดของโลก 9 อย่างที่มนุษย์กำลังสร้างผลกระทบโดยตรง และถ้าข้ามขีดอันตรายไปเมื่อไหร่ จะเกิดผลกระทบลูกโซ่ที่ทำลายระบบนิเวศของโลกอย่างหวนกลับมาไม่ได้อีกต่อไป
ซึ่งในบรรดา 9 อย่างนี้ เรารู้จักเรื่องโลกร้อนดีที่สุด แต่ที่เหลือ มีหลายอันที่มีคนพูดถึงน้อยมากๆ
ขีดจำกัดทั้ง 9 นี้ มีที่มาจากกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ นำโดย Johan Rockstrom [นามสกุลโคตรเท่] แห่งมหาวิทยาลัย Stockholm และวิล สเตฟเฟน (Will Steffen) จากมหาวิทยาลัย Australian National University เอางานวิจัยยาวนานกว่า 5 ทศวรรษ มาสรุปเป็นกระบวนการรักษาสมดุลของโลกให้เราเห็นชัดเจน 9 ประการ โดย Rockstrom เองเป็น presenter ของสารคดีชิ้นนี้ด้วย
นอกจากจะทำความรู้จักขีดจำกัดทั้ง 9 อย่างนี้แล้ว งานวิจัยก็ยังบอกเราด้วยว่าตอนนี้มนุษย์อยู่ในขีดอันตรายระดับไหนแล้วในแต่ละหัวข้อ
-----------------------
สถานการณ์: [Code Red] วิกฤติแล้วจ้า ฉิบหายแล้ว มี 2 ข้อ
1. Biodiversity loss [การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ] : สถานการณ์ วิกฤติ
- ว่าด้วยการสูญพันธ์ของสัตว์และพืช ใช่ 50 ปีที่ผ่านมา อัตราการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ หลักๆมาจากการสูญเสียที่อยู่อาศัยจากการกระทำของมนุษย์ ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม เพื่อผลิตอาหาร น้ำ และทรัพยากร
- ต่อปี อัตราการสูญพันธุ์ในปัจจุบัน อยู่ที่ 1,000 ต่อ 1,000,000 ชนิด ต่อปี [0.1%] โดยอัตราการสูญพันธุ์ที่ปลอดภัย อยู่ที่ ไม่เกิด 10 ต่อ 1,000,000 ชนิดต่อปี [ 0.001%] เท่ากับเราเลย limit ที่ปลอดภัยมาแล้ว 100 เท่า!
2. Nitrogen Cycle and Phosphorus Cycle [ วงจรไนโตรเจนและฟอสฟอรัส] : สถานการณ์ วิกฤติ
- ใช้แล้วครับ ไนโตรเจนกับฟอสฟอรัส ในปุ๋ยเคมี NPK นี่แหล่ะ
- เรื่องนี้มีคนรู้น้อยมาก หลักๆคือการที่มนุษย์ผลิตอาหารมากขนาดนี้ เราต้องใช้ปุ๋ยจำนวนมหาศาล เราไปเก็บไนโตรเจนมาจากชั้นบรรยากาศ และขุดฟอสฟอรัสมาจากในดิน แล้วในกระบวนการเกษตร สารเหล่านี้โดนเก็บไว้ในพืชแค่นิดเดียว ที่เหลือไหลลงน้ำลงทะเล หรือกลายเป็นมลพิษในอากาศ
- ซึ่งผลพวงก็มีเช่น ปุ๋ยลงน้ำไปทำให้เกิด Algae Bloom [สาหร่ายเติบโต] ซึ่งพอตายทับถมกัน ก็ทำให้ออกซิเจนในน้ำลดลงเรื่อยๆ จนบางที่กลายเป็น "Dead Zone" หรือจุดที่สิ่งมีชีวิตไม่สามารถอยู่ได้อีกแล้ว เพราะขาดออกซิเจน ซึ่งทั่วโลกพบอยู่หลายร้อยแห่งแล้ว ปล่อยไปเรื่อยๆจะส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ทำระบบนิเวศพังทั้งระบบ
- ตอนนี้เราใช้ไนโตรเจนกับฟอสฟอรัสเพื่อผลิตอาหาร เกิดขีดจำกัดที่นักวิทยาศาสตร์กำหนดไว้ ประมาณ 2 เท่าในทุกๆปี
-----------------------
สถานการณ์: [Code Yellow] ต้องเฝ้าระวัง หากไม่เปลี่ยนแปลง วิกฤติแน่
3. Deforestation Land use Changes การตัดไม้ทำลายป่า และการเปลี่ยนแปลงผืนโลก : สถานการณ์ เฝ้าระวัง
- คือการเปลี่ยนป่าเป็นพื้นที่การเกษตรหรือเลี้ยงสัตว์[การผลิตเนื้อ ใช้ที่ดินเยอะมาก] ซึ่งนำไปสู่ทั้งความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ [ข้อ 1. ] และเป็นการปล่อยคาร์บอนที่ถูกกักเก็บไว้ในต้นไม้กลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ซึ่งก็ไปสร้างปัญหาภาวะโลกร้อนต่อ รวมถึงการเปลี่ยนน้ำทะเลให้เป็นกรดอีกด้วย
- ป่าคือ Carbon Sink หรือตัวดูดซับคาร์บอนที่ดีที่สุดที่เรามีอยู่ในธรรมชาติ การสูญเสียป่า คือการสูญเสียระบบจัดการคาร์บอนของดาวโลก
- การสูญเสียพื้นที่ป่าในประเทศหนึ่ง อาจสร้างผลกระทบต่อระบบนิเวศในระดับโลก (เช่นป่า Amazon เป็นต้น)
4. Climate Change ภาวะโลกร้อน : สถานการณ์ เฝ้าระวัง
- ตัวโหดที่ทุกคนรู้จักดี ตอนนี้เราผ่านจุดที่คาร์บอนในชั้นบรรยากาศ อยู่ที่ 418 ppm [Parts per million] ซึ่งอาจจะนำไปสู่โลกที่อุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 2 องศา ซึ่งเป็นสิ่งที่ Paris Agreement ในปี 2015 ตั้งใจจะทำให้ได้ แต่อย่างไรระดับคาร์บอนได้ออกไซด์ก็ไม่มีทีท่าจะลดลงมาสักกะที ถ้าหากว่าเกิน 500 ppm ขึ้นไป และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เราอาจจะจบที่ร้อนชึ้น 4-8 องศา ซึ่งนั่นคือ Game Over แน่นอน
- ตอนนี้น้ำแข็งทะเลในขั้วโลกเหนือลดลงจนไม่น่าจะหวนกลับมาได้แล้ว ทำให้เรายิ่งไม่มีพื้นที่สีขาวมาสะท้อนแสงอาทิตย์กลับไป
- น้ำแข็งในกรีนแลนด์ละลายเร็วขึ้นกว่าที่คาดการเอาไว้ 3-4 เท่า ถ้ากรีนแลนด์ละลายหมด น้ำทะเลจะสูงขึ้น 7 เมตร
- ตอนนี้ขั้วโลกได้ที่เชื่อว่าละลายได้ยากมาตลอด เริ่มมีอาการแปรปรวนให้เห็น ถ้าละลายหมด น้ำจะสูงขึ้นหลายสิบเมตร
- จุดที่เราจะย้อนกลับไม่ได้ ใกล้เข้ามาทุกที
-----------------------
สถานการณ์: [Code Green] ยังปลอดภัยอยู่ ต้องรักษาระดับเอาไว้
5. Freshwater Use การใช้น้ำจืด : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- เป็นตัวแปรที่ link กับเรื่อง climate change + ระบบการจัดการน้ำของมนุษย์ ซึ่งได้เปลี่ยนวงจรที่น้ำจืดแปรสภาพและไหลเวียนตามธรรมชาติไปโดยสิ้นเชิง การชลประทานนำไปสู่การเปลี่ยนในการไหลของแม่น้ำ การถางป่านำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงของวงจรไอน้ำ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและส่วนใหญ่เปลี่ยนแล้วแก้คืนไม่ได้
- ถึงแม้ว่าตอนนี้จะยังไม่วิกฤติ แต่ก็ต้องระวังดีๆ หากเราเปลี่ยนวงจรน้ำจืดไปเรื่อยๆอย่างไม่คิดถึงผลกระทบที่ตามมา อาจจะส่งผลลูกโซ่ต่อเนื่อง สร้างความเสียหายในแบบที่เรายังคาดไม่ถึงได้
6. Ocean Acidification การเป็นกรดของมหาสมุทร : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- ประมาณ 25-30% ของคาร์บอนที่เราปล่อยออกมา ถูกดูดซับโดยน้ำในมหาสมุทร ซึ่งผลพวงของมันก็คือทำให้น้ำทะเลมีความเป็นกรดมากขึ้น ซึ่งก็ไปทำให้ในน้ำมี แคลเซียมคาร์บอเนต ลดลงเรื่อยๆ ซึ่งอันนี้เป็นสิ่งสำคัญที่สิ่งมีชีวิตในทะเล ทั้งปะการัง ทั้งกุ้ง หอย ปู แพลงตอนบางประเภท หรืออะไรก็ตามที่มีเปลือก ใช้ในการสร้างเปลือกป้องกันตนเอง
- พอสัตว์เหล่านี้โตไม่ได้ ก็กระทบบ่วงโซ่อาหาร ในทะเลก็มีปลาน้อยลงเรื่อยๆ
- ตอนนี้น้ำทะเลของเรา มีความเป็นกรดมากขึ้น 30% เมื่อเทียบกับตอนก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม
- อันนี้ link กับเรื่อง Climate change ในเชิงมีสาเหตุร่วมกัน แต่ถือเป็นคนละมาตรวัดกัน
- ถึงยังปลอดภัยอยู่ แต่ถ้าไม่เปลี่ยนเรื่องปล่อยคาร์บอนกัน มันก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆต่อไป
7. Stratospheric ozone depletion การสลายตัวของชั้นโอโซน : สถานการณ์ ยังปลอดภัย
- อย่างที่รู้กัน โอโซนช่วยกัน UV [ultraviolet] ไม่ให้เข้าสู่บรรยากาศโลก ถ้าไม่มีโอโซนเราก็จะเป็นมะเร็งผิวหนังกันหมด และระบบนิเวศโลกก็จะพัง
- อันนี้เป็นข้อเดียวที่สถานการณ์ดีขึ้นมาก นับตั้งแต่มีการค้นพบปัญหารูโอโซนบริเวณขั้วโลก และมีการระบุชัดเจนว่าสารเคมีชนิดไหนที่เป็นต้นเหตุ นานาชาติก็มีการตกลงแบนสารเหล่านั้นร่วมกันผ่าน Montreal Protocol จนได้ผลนำสถานการณ์อันตรายมาสู่ระดับที่ปลอดภัยได้
- เป็นความหวังของหมู่บ้าน ว่ามนุษย์สามารถรวมตัวกันแก้ไขปัญหาได้สำเร็จ
-----------------------
สถานการณ์: [Unknown] รู้ว่าเป็นปัญหา แต่ยังไม่สามารถกำหนดขอบเขตที่เกินขีดอันตรายไปได้
- 2 ข้อนี้ คือตัวแปรที่นักวิทยาศาสตร์เห็นตรงกันว่าจะมีผลกระทบกับระบบนิเวศของโลกอย่างมีนัยยะสำคัญ แต่ว่ายังหาคำตอบไม่ได้ว่าขีดอันตรายอยู่ที่จุดไหน
8. Particle Pollution [Atmospheric aerosol loading] สารแขวนลอยในชั้นบรรยากาศ : สถานการณ์ (ไม่รู้)
- ง่ายๆก็คือพวก pm10/ pm2.5 นั่นแหล่ะครับ + สารเคมีต่างๆที่มนุษย์ปล่อยขึ้นไปในชั้นบรรยากาศ สิ่งเหล่านี้นอกจากจะมีผลกับสุขภาพของมนุษย์แล้ว คือมีผลกับอุณหภูมิของโลกด้วย
- ในขณะที่ก๊าซเรือนกระจก ทำให้โลกร้อนขึ้น สารแขวนลอยและมลพิษในอากาศ มีผลกระทบในการสะท้อนแสงอาทิตย์ออกนอกชั้นบรรยากาศ พูดง่ายๆยิ่งอากาศขุ่นมัวมาก อุณหภูมิก็ยิ่งลดลง ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องดีเสมอไป เพราะต้องแลกมากับคุณภาพอากาศที่ย่ำแย่มากๆ เป็นผลกับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
- นอกจากนั้น สารแขวนลอยเหล่านี้ยังสามารถจับตัวกับไอน้ำ มีผลกับการจับตัวของก้อนเมฆและการเปลี่ยนแปลงของอากาศอีกด้วย
- ซึ่งผลกระทบตรงนี้ ยังอยู่ในขั้นตอนการศึกษาเพิ่มเติม ทำให้ยังไม่สามารถทราบผลกระทบทั้งหมดได้
9. Chemical Pollution การปนเปื้อนของสารสังเคราะห์ : สถานการณ์ (ไม่รู้)
- มนุษย์เราสร้างสารสังเคราะห์ชนิดใหม่ขึ้นมากว่า 100,000 ชนิด ซึ่งมีทั้งโลหะหนักต่างๆ สารกัมมันตภาพรังสี ไมโครพลาสติก ฯลฯ ซึ่งผ่านอุตสาหกรรมและกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ สารเหล่านี้ก็ถูกปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ โดยที่เรายังไม่เข้าใจผลกระทบที่พวกมันมีต่อสัตว์ พืช และระบบนิเวศเลย รวมไปถึงผลกระทบที่มันมีต่อคนด้วย [ยกตัวอย่าง จนถึงตอนนี้ ก็ยังไม่สามารถสรุปได้ ว่าการกินไมโครพลาสติกเข้าไป มีผลอะไรกับร่างกายคนบ้าง]
- ทำให้การกำหนดขอบเขตในเรื่องนี้ เป็นไปได้ยากมาก แต่นักวิทยาศาสตร์ก็เห็นพ้องกันว่า เป็นตัวแปรที่มีผลต่อระบบนิเวศของโลกแน่นอน
-----------------------
นอกจาก 9 ข้อนี้ ขอฝากคำศัพท์ไว้อีกคำ คือคำว่า [Antropocene]=แอนโทรโพซีน คือชื่ออย่างไม่เป็นทางการของโลกยุคปัจจุบัน โดยยุคก่อนหน้านี้คือยุค Holocene [โฮโลซีน] ที่เริ่มต้นประมาณ 11,700 ปีที่แล้ว หลังยุคน้ำแข็งรอบสุดท้ายจบลง เป็นยุคที่อุณหภูมิของโลกเริ่มคงที่ ทำให้สภาวะที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสังคมมนุษย์เกิดขึ้นได้ เป็นสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
แต่มาตอนนี้ นักวิทยาศาสตร์บอกว่ายุค Antropocene ได้มาถึงแล้ว มาจากคำว่า Anthropo ที่แปลว่า "คน" ในภาษากรีก ซึ่งอธิบายง่ายๆก็คือ นี่คือยุคที่มนุษย์กลายเป็นตัวแปรหลักในการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศและระบบนิเวศของโลก จากที่ก่อนหน้านี้ ไม่เคยมีสปีชีส์ไหนทำแบบนี้ได้มาก่อน สัตว์ทุกชนิดต้องยอมรับสภาวะที่โลกหยิบยื่นให้ มีเราเป็นสปีชีส์แรกที่สามารถเปลี่ยนระบบของโลกได้ด้วยการกระทำของเรา
ขึ้นอยู่กับว่าจะเปลี่ยนไปทางไหนเท่านั้นเอง
Ref
http://www.salforest.com/blog/planetary-boundary
https://en.wikipedia.org/wiki/Planetary_boundaries#/media/File:Planetary_Boundaries.png
https://www.stockholmresilience.org/research/planetary-boundaries/the-nine-planetary-boundaries.html
https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/anthropocene/
https://www.imdb.com/title/tt14539726/
chemical science 在 GENKI LABO Youtube 的最佳解答
いつも使っている薬品の処理はどうしているのかと沢山の質問がありましたのでお答えします!
【廃液処理方法】
○京都大学 http://www.chem.zenkyo.h.kyoto-u.ac.jp/operation/Operation_Guide_WMV/operation/frame/frame_18_wmv.html
○鹿児島大学 https://www.kagoshima-u.ac.jp/haieki/98232666a9022a517780bef552a23d2f21761724.pdf
○東北大学 http://www.env.tohoku.ac.jp/nannentyousei20131216.pdf
【参考文献】
1) 環境省, 「水・土壌・地盤・海洋環境の保全 一律排水基準」
https://www.env.go.jp/water/impure/haisui.html
2) 東京都下水道局, 「下水排除基準(東京都 23 区内)」
https://www.gesui.metro.tokyo.lg.jp/contractor/regulation/information/3kijyun/
3) 植松喜稔, 「化学系研究室・実験室の廃液の処理(その 2)一個々の実験室廃液の収集 と処理処分を中心として」, 環境技術, 3, 11 (1974) https://www.jstage.jst.go.jp/article/jriet1972/3/11/3_11_777/_pdf/-char/ja
4) 国立医薬品食品衛生研究所, 「廃棄の基準」
https://www.nihs.go.jp/mhlw/chemical/doku/gaiyou/kisei/zyoubun/kizyun/haiki/sono4/kizyun.pdf
5) 日野貞雄 : 「重曹」, 臨床薬理, 2, 2 (1971) https://www.jstage.jst.go.jp/article/jscpt1970/2/2/2_2_201/_pdf/-char/ja
★サイエンスグッズショップ「GENKI LABO」
https://genkilabo.thebase.in/
★サブチャンネル「GENKI LABO 理科準備室」
https://www.youtube.com/channel/UCPiv_s6_ov-zGGZz1JOvb2Q
★実験ファンクラブ「科学実験王国」 目指せ科学の遊園地 一緒に実験考えよう!
https://community.camp-fire.jp/projects/view/190431
★書籍「理系脳がぐんぐん育つ! 魔法の科学実験図鑑」
https://www.amazon.co.jp/dp/4299007336
★Lineスタンプ
https://store.line.me/stickershop/product/11899259
毎週金曜、土曜の20時を目安に動画をアップしています。
プレミア公開していますのでリマインダー登録を忘れずに!
※他の曜日もアップされる可能性もあります。
市岡元気 https://twitter.com/genkiichioka
INSTAGRAM https://www.instagram.com/genki_ichioka/
FaceBook https://www.facebook.com/genkiichioka
HP http://sciencegenki.com
コラボやお仕事のご依頼はコチラ→ info@m2cscience.com
編集協力:PEACSMIND https://www.peacsmind.com/
実験協力:秋野友香様 (実験王国メンバー)
chemical science 在 Ketchup Jo Youtube 的最讚貼文
การทดลองหลังบ้านวันนี้ เรามาทดลองทำคาเวียร์แบบง่ายๆ หรือสเฟียร์จากหลักวิทยาศารตร์ นั่นคือ molecular gastronomy หรือ spherification ด้วยของแค่ 3 อย่าง!!! ผลจะเป็นไง ไปลุ้นกัน!!
#การทดลองหลังบ้าน #คาเวียร์ #KetchupJo
Make sure to subscribe! ◆ https://www.youtube.com/KetchupJo
(ผมลงคลิปใหม่ทุกอาทิตย์นะครับ ?)
อย่าลืมติดตามผมใน Facebook และ Instagram นะคร้าบบ ?
Facebook ► https://www.facebook.com/ketchupjow/
Instagram ► ketchup_jo
สนใจติดต่อเรื่องการลงโฆษณาหรือการร่วมงานเท่านั้น กรุณาติดต่อ
► Email: ketchupjow@gmail.com
For business or stock footage inquires ONLY contact me via
Email: ketchupjow@gmail.com
?????คำเตือน ?????
วิดีโอที่คุณกำลังชมนี้ทำขึ้นเพื่อจุดประสงค์สำหรับ"ความบันเทิง”เท่านั้น
เนื้อหาต่างๆที่ทำขึ้น เพื่อให้ผู้ชมสามารถนำเอาไปต่อยอดเพื่อการเรียนรู้
โดยไม่ใช่บทสรุปหรือข้ออ้างอิงทางวิทยาศาสตร์แต่อย่างใด
แต่เป็นความคิดเห็นส่วนตัวที่เกิดจากการลองผิดลองถูกส่วนตัว
หากผู้ใดนำไปทดลองหรือทำตามแล้วเกิดความเสียหายใดๆ
ทาง Ketchup Jo จะไม่มีส่วนในความรับผิดชอบใดๆทั้งสิ้น
โปรดรับชมด้วยวิจารณญาณ
และให้คำแนะนำแก่บุตรหลานของท่านในการรับชม
chemical science 在 Ketchup Jo Youtube 的精選貼文
การทดลองหลังบ้าน ครั้งนี้เพื่อนผมส่งของเล่นวิทยาศาสตร์มาให้ นั่นคือ น้ำแข็งร้อน น้ำแข็งจะร้อนได้ยังไง เรามาลองแกะกล่องเล่นกัน!!
#การทดลองหลังบ้าน #น้ำแข็งร้อน #hotice
Make sure to subscribe! ◆ https://www.youtube.com/KetchupJo
(ผมลงคลิปใหม่ทุกอาทิตย์นะครับ ?)
อย่าลืมติดตามผมใน Facebook และ Instagram นะคร้าบบ ?
Facebook ► https://www.facebook.com/ketchupjow/
Instagram ► ketchup_jo
สนใจติดต่อเรื่องการลงโฆษณาหรือการร่วมงานเท่านั้น กรุณาติดต่อ
► Email: ketchupjow@gmail.com
For business or stock footage inquires ONLY contact me via
Email: ketchupjow@gmail.com
?????คำเตือน ?????
วิดีโอที่คุณกำลังชมนี้ทำขึ้นเพื่อจุดประสงค์สำหรับ"ความบันเทิง”เท่านั้น
เนื้อหาต่างๆที่ทำขึ้น เพื่อให้ผู้ชมสามารถนำเอาไปต่อยอดเพื่อการเรียนรู้
โดยไม่ใช่บทสรุปหรือข้ออ้างอิงทางวิทยาศาสตร์แต่อย่างใด
แต่เป็นความคิดเห็นส่วนตัวที่เกิดจากการลองผิดลองถูกส่วนตัว
หากผู้ใดนำไปทดลองหรือทำตามแล้วเกิดความเสียหายใดๆ
ทาง Ketchup Jo จะไม่มีส่วนในความรับผิดชอบใดๆทั้งสิ้น
โปรดรับชมด้วยวิจารณญาณ
และให้คำแนะนำแก่บุตรหลานของท่านในการรับชม
chemical science 在 Chemical Science - 首頁| Facebook 的必吃
Chemical Science 。 38483 個讚· 16 人正在談論這個。 Published by the Royal Society of Chemistry, Chemical Science is the number one Open Access journal for ... ... <看更多>