☘️ อุดรธานีประกาศพร้อมเป็นเจ้าภาพจัดมหกรรมพืชสวนโลก 2569 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในอีก 5 ปีข้างหน้า
🌊 จังหวัดอุดรธานี ผนึกกำลังภาครัฐและภาคเอกชน เสนอตัวเป็นเจ้าภาพจัดงาน “มหกรรมพืชสวนโลก 2569” (UDON THANI International Horticultural Expo 2026) ภายใต้แนวคิด ‘Harmony of life’ วิถีชีวิต สายน้ำ และพืชพรรณ ณ พื้นที่ชุ่มน้ำหนองแด ตำบลกุดสระ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ซึ่งจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2569 - 14 มีนาคม 2570
.
🌺 การจัดพืชสวนโลกครั้งนี้ จะถือเป็นการจัดในประเทศไทยอีกครั้งหลังจากเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพในปี 2549 โดยจังหวัดอุดรธานีจะจัดงานบนพื้นที่รวมทั้งดินและน้ำกว่า 975 ไร่ แบ่งการจัดแสดงเป็น 4 ส่วน ได้แก่ วิถีชีวิต สายน้ำ พืชพรรณ และนานาชาติตามลำดับ
😍 เป้าหมายของการจัดงานครั้งนี้ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภายในพื้นที่ ซึ่งคาดว่าจะมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติมาเที่ยวชมงาน มากกว่า 3.5 ล้านคน โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวจีน ที่สามารถเดินทางด้วยรถไฟความเร็วสูงผ่านประเทศลาวและต่อมายังจังหวัดอุดรธานีได้อย่างสะดวกสบาย
😀 มาช่วยกันร่วมลุ้น ร่วมเชียร์ ให้มหกรรมพืชสวนโลกได้กลับมาจัดที่ประเทศไทยอีกครั้ง ✌🏻
#พืชสวนโลก #อุดรธานี #UdonThani #InternationalHorticulturalExpo2026 #ติดโปร #TIDPRO
10 พฤศจิกายน 2549 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
“10 ธันวา : ความรู้ความเข้าใจรัฐธรรมนูญ”
ประเทศไทยหลังจากการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” มาเป็น “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ”
รัฐธรรมนูญ ฉบับแรกของไทย มีชื่อว่า "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475" จากนั้น ก็ได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญมา 20 ฉบับ ตามลำดับ ดังนี้
1. พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 (27 มิถุยายน - 10 ธันวาคม 2475)
2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม (ไทย) พุทธศักราช 2475 (10 ธันวาคม 2475 - 9 พฤษภาคม 2489) ถูกยกเลิกเพราะล้าสมัย
3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 (9 พฤษภาคม 2489 - 8 พฤศจิกายน 2490) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 รัฐธรรมนูญตุ่มแดง หรือ รัฐธรรมนูญใต้ตุ่ม (9 พฤศจิกายน 2490 - 23 มีนาคม 2492)
5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 (23 มีนาคม 2492 - 29 พฤศจิกายน 2494) ถูกยกเลิกการรัฐประหาร
6. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495 (8 มีนาคม 2495 - 20 ตุลาคม 2501) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
7. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 (28 มกราคม 2502 - 20 มิถุนายน 2511)
8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 (20 มิถุนายน 2511 - 17 พฤศจิกายน 2514) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
9. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 (25 ธันวาคม 2515 - 7 ตุลาคม 2517)
10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 (7 ตุลาคม 2517 - 6 ตุลาคม 2519) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
11. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519 (22 ตุลาคม 2519 - 20 ตุลาคม 2520)
12. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 (9 พฤศจิกายน 2520 - 22 ธันวาคม 2521)
13. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 (22 ธันวาคม 2521 - 23 กุมภาพันธ์ 2534) ถูกยกเลิกการรัฐประหาร
14. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 (1 มีนาคม - 9 ตุลาคม 2534)
15. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 (9 ธันวาคม 2534 - 11 ตุลาคม 2540) ถูกยกเลิกหลังตรารัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
16. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ฉบับประชาชน (11 ตุลาคม 2540 - 19 กันยายน 2549) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
17. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 (1 ตุลาคม 2549 - 24 สิงหาคม 2550)
18. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (24 สิงหาคม 2550 - 22 พฤษภาคม 2557) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
19. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 (22 กรกฎาคม 2557 - 6 เมษายน 2560)
20. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (6 เมษายน 2560 - ปัจจุบัน)
ความรู้ความเข้าใจในตัวรัฐธรรมนูญ
ในอดีต มีประชาชนในสมัยพ่อเฒ่า เมื่อ 87 ปี ที่แล้ว พ่อเฒ่าเล่าว่า ประชาชนในสมัยนั้นเข้าใจว่า วันที่ 10 ธันวา ที่มีการเฉลิมฉลองวันรัฐธรรมนูญนั้น คือ การเลี้ยงฉลองวันเกิด ลูกชาย พระยาพหลพยุหเสนา ที่ ชื่อ รัฐธรรมนูญ แสดงให้เห็นถึงการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 ให้มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด และให้มีรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 2 ฉบับถาวร ประกาศใช้ วันที่ 10 ธันวาคม 2475 ถือ เป็น “วันรัฐธรรมนูญ” ของประเทศไทย นั้นไม่มีความเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยเลย
และจนมาถึงวันนี้ปัจจุบัน 87 ปี ความรู้ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยก็ยังชนบท (ล้าหลัง) อยู่ “รัฐบาลที่เปลี่ยนเสื้อผ่านทางรัฐธรรมนูญ 2560 จาก คสช. มาเป็นรัฐบาลพลเรือน น่าจะรู้ดีครับ”
10 พฤศจิกายน 2549 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
“10 ธันวา : ความรู้ความเข้าใจรัฐธรรมนูญ”
ประเทศไทยหลังจากการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” มาเป็น “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ”
รัฐธรรมนูญ ฉบับแรกของไทย มีชื่อว่า "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475" จากนั้น ก็ได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญมา 20 ฉบับ ตามลำดับ ดังนี้
1. พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 (27 มิถุยายน - 10 ธันวาคม 2475)
2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม (ไทย) พุทธศักราช 2475 (10 ธันวาคม 2475 - 9 พฤษภาคม 2489) ถูกยกเลิกเพราะล้าสมัย
3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 (9 พฤษภาคม 2489 - 8 พฤศจิกายน 2490) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 รัฐธรรมนูญตุ่มแดง หรือ รัฐธรรมนูญใต้ตุ่ม (9 พฤศจิกายน 2490 - 23 มีนาคม 2492)
5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 (23 มีนาคม 2492 - 29 พฤศจิกายน 2494) ถูกยกเลิกการรัฐประหาร
6. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2495 (8 มีนาคม 2495 - 20 ตุลาคม 2501) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
7. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 (28 มกราคม 2502 - 20 มิถุนายน 2511)
8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 (20 มิถุนายน 2511 - 17 พฤศจิกายน 2514) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
9. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 (25 ธันวาคม 2515 - 7 ตุลาคม 2517)
10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 (7 ตุลาคม 2517 - 6 ตุลาคม 2519) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
11. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519 (22 ตุลาคม 2519 - 20 ตุลาคม 2520)
12. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520 (9 พฤศจิกายน 2520 - 22 ธันวาคม 2521)
13. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 (22 ธันวาคม 2521 - 23 กุมภาพันธ์ 2534) ถูกยกเลิกการรัฐประหาร
14. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 (1 มีนาคม - 9 ตุลาคม 2534)
15. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 (9 ธันวาคม 2534 - 11 ตุลาคม 2540) ถูกยกเลิกหลังตรารัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
16. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ฉบับประชาชน (11 ตุลาคม 2540 - 19 กันยายน 2549) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
17. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 (1 ตุลาคม 2549 - 24 สิงหาคม 2550)
18. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (24 สิงหาคม 2550 - 22 พฤษภาคม 2557) ถูกยกเลิกโดยการรัฐประหาร
19. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 (22 กรกฎาคม 2557 - 6 เมษายน 2560)
20. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (6 เมษายน 2560 - ปัจจุบัน)
ความรู้ความเข้าใจในตัวรัฐธรรมนูญ
ในอดีต มีประชาชนในสมัยพ่อเฒ่า เมื่อ 87 ปี ที่แล้ว พ่อเฒ่าเล่าว่า ประชาชนในสมัยนั้นเข้าใจว่า วันที่ 10 ธันวา ที่มีการเฉลิมฉลองวันรัฐธรรมนูญนั้น คือ การเลี้ยงฉลองวันเกิด ลูกชาย พระยาพหลพยุหเสนา ที่ ชื่อ รัฐธรรมนูญ แสดงให้เห็นถึงการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 ให้มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด และให้มีรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 2 ฉบับถาวร ประกาศใช้ วันที่ 10 ธันวาคม 2475 ถือ เป็น “วันรัฐธรรมนูญ” ของประเทศไทย นั้นไม่มีความเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยเลย และจนมาถึงวันนี้ปัจจุบัน 87 ปี ความรู้ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยก็ยังชนบท (ล้าหลัง) อยู่
“รัฐบาลที่เปลี่ยนเสื้อผ่านทางรัฐธรรมนูญ 2560 จาก คสช. มาเป็นรัฐบาลพลเรือน น่าจะรู้ดีครับ”